ธงฺก : ป. กา, นกยาง, เหยี่ยว
นขทารณ : (ปุ.) นกผู้มีเล็บเป็นเครื่องทำลาย สัตว์อื่น, นกผู้ทำลายสัตว์อื่นด้วยเล็บ, เหยี่ยว ชื่อนกจำพวกหนึ่งมีหลายชนิด มีเล็บยาวและคม โฉบสัตว์ที่เล็กกว่ากิน เป็นอาหาร.
กโปตาริ : ป. เหยี่ยว
พฺยคฺฆีนส : ป. เหยี่ยว
กุลล : (ปุ.) เหยี่ยว, นกเหยี่ยว. วิ. กุกฺกุฏาทีนํ กุลํ ลุนาตีติ. กุลโล. กุลปุพฺโพ, ลุ เฉทเน, กฺวิ. กุลติ ปกฺเข ปสาเรตีติ วา กุลโล, กุลฺ สนฺธาเน, อโล.
พฺยคฆีนส : (ปุ.) เหยี่ยว, นกเหยี่ยว. สตฺตานํ หึสนโต พฺยคฺโฆ วิย พฺยคฺฆี, สตฺเตนาเสตีตินโส. พฺยคิฆี เอว นโส พฺยคฺฆีนโส.
เสณ เสน : (ปุ.) เหยี่ยว, นกเหยี่ยว, หนามเล็บเหยี่ยว ชื่อพรรณไม้ชนิดหนึ่ง. สิ พนฺธเน. ณ, น ปัจ. คง ณ ไว้ วิการ อิ เป็น เอ หรือ เส คติยํ.
กก กงฺก : (ปุ.) นกอีลุ้ม, นกเหยี่ยวแดง, นกกระสา. กํกฺ โลลิเย, อ. เป็น กํกล กงฺกล โดยลง อล ปัจ. บ้าง. ส. กงฺก นกยาง พระยม.
กงฺก : ป. นกกระยาง, นกอีลุ้ม, เหยี่ยวแดง
กรมทฺท : (ปุ.) เล็บเหยี่ยว ชื่อต้นไม้พุ่มมีหนาม ผลเล็กรับประทานได้.
กาฬเวยฺย : (ปุ.) เหยี่ยวดำ, นกเหยี่ยวดำ.
กุรร กุรุร : (ปุ.) นกเขา. กุรฺ สทฺเท, อโร. นกออก, นกเหยี่ยว ก็แปล.
โกสมฺพ : (ปุ.) หนามเล็บเหยี่ยว, สะคร้อ.
ฆาติปกฺขี : ป. เหยี่ยวดำ
ธก ธงฺก : (ปุ.) นกกา, นกยาง. ธกฺ ธํกฺ โฆรวาสิเต, อ. นกเหยี่ยว, ธกฺ ธกํ ปริฆาเต, อ.
พลิยกฺข : ป. เหยี่ยวนกเขา
พลียกฺข : (ปุ.) เหยี่ยวนกเขา.
โลหปิฏฺฐ : ป. นกอีลุ้ม, เหยี่ยวแดง
สกิณคฺฆี : ป. เหยี่ยวนกเขา
สุเสน : (ปุ.) เล็บเหยี่ยวชื่อพรรณไม้อย่างหนึ่งมี ๒ ชนิด. วิ. สุฎฺฐุ สิโนตีติ สุเสโน. สุฎฺฐุปุพฺโพ, สิ พนฺธเน, ยุ.
เสน, เสนก : ป. เหยี่ยวดำ; ที่นอน
อุกฺกุส : ป. นกเขา, เหยี่ยวดำ