มทิรา : (อิต.) น้ำเมา, เหล้า, สุรา. มทฺ อุมฺมาเท, กรเณ อิโร, อา จ.
วน : นป. ป่า
มท : (ปุ.) ความเมา, ความมัวเมา, น้ำมันเป็นที่เมาแห่งช้าง, น้ำมันช้างในเวลาตกมัน, ความคะนอง, ความจองหอง, มทฺ อุมฺมาเท, อ. แปลว่า น้ำโสม เหล้า ด้วย?
กาโปติกา : อิต. เหล้าชนิดหนึ่งมีสีเหมือนสีเท้านกพิราบ
กิณฺณ : (นปุ.) พืชแห่งสุรา, ส่าเหล้า, แป้งข้าว หมาก, แป้งเหล้า. วิ. กิรนฺติ นานาทพฺพานิ มิสฺสี ภวนฺตยสฺสนฺติ กิณฺณํ. กิรฺ วิกิรเณ, โต, ณฺณาเทโส, รฺโลโป.
ปสนฺนา : อิต. เหล้าชนิดหนึ่งที่ทำด้วยข้าว
มชฺชวิกฺกยี : (ปุ.) คนขายเหล้า. มชฺช+วิ+กี ธาตุในความแลกเปลี่ยนด้วยทรัพย์ ณี ปัจ. แปลง อี เป็น เอ เอ เป็น อย ซ้อน กฺ.
มธุวาสว : ป. เหล้าที่ทำจากดอกมะซาง
มุทฺทิกาสว : ป. เหล้าองุ่น
วารุณี : อิต. เหล้า, เทวีแห่งเหล้า
วิตฺถ : นป. แก้วเหล้า
สุณฺฑา : (อิต.) เหล้า, สุรา, น้ำจันฑ์ (ราชาศัพท์). สุณฺ หึสายํ, โฑ. ส. คุณฺฑา.
สุราปาน : (ปุ.) คนดื่มสุรา, นักเลงเหล้า, นักเลงสุรา.
โสณฺฑิก : (ปุ.) คนขายเหล้า, คนขายสุรา วิ. สุณฺฑํ วิกฺกิณาตีติ โสณฺฑิโก. ณิก ปัจ.
อพฺโพหาริก : (วิ.) อันเป็นอัพโพหาริกคือ ไม่ควรนับว่าผิดวินัยหรือกฏหมาย ในเพราะการกระทำบางกรณีเช่นคนที่รับประทานแกงซึ่งผสมเหล้านิดหน่อยเพื่อดับกลิ่นหรือชูรสการกินเหล้าในกรณีเช่นนี้จัดเป็นอัพโพหาริกไม่นับว่ากินเหล้าศีลไม่ขาด.
อลิอฬิ : (ปุ.) ผึ้ง, ตัวผึ้ง, แมลงภู่, แมลงป่อง, กา, นกเค้า, เหล้าหวาน.วิ.อรตีติอลิอฬิวา.อรฺคมเน, อิ, รสฺสลตฺตํ, ศัพท์หลังแปลงลเป็นฬ.ส. อลิ.
อาปาน : (นปุ.) ที่เป็นที่มาดื่ม, สถานที่เป็นที่มาดื่ม, สถานที่ดื่มเหล้า, การดื่ม, วิ.อาภุสํปิวนฺติยสฺมินฺติอาปนํ.อาคนฺตฺวาปิวนฺติเอตฺถาติวาอาปนํ.อาปุพฺโพ, ปาปาเน, ยุ.ส.อาปาน
อาปานก : ค. ผู้ดื่ม, นักดื่มเหล้า
อาปานมณฺฑล : นป. ร้านเหล้า, โรงสุรา
อาปานียกส : ป. จอกน้ำ, ขันน้ำ, แก้วเหล้า
อาสว : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องยังสัตว์ให้ไหลไป ทั่ว ธรรมเป็นเครื่องยังสัตว์ให้ไหลไปใน ภพทั้ง๓๑ภพ, กิเลสเครื่องหมักดอง, กิเลส, อันตราย, อุปัททวะ, เหล้าอันบุคคลทำด้วย ดอกไม้, น้ำดอง, สุรา, เมรัย. ในที่ต่าง ๆ แปลว่า เมรัย เท่านั้น แต่ อภิฯ แปลว่า สุรา ด้วย. อาปุพฺโพ, สุ ปสเว, โณ.
อินฺทวารุณิ อินฺทวารุณี : (อิต.) แตงกวา, แตงหนู, ขี้กา, ขี้กาแดง, ส่าเหล้า (กาก ของเชื้อที่ทำเหล้า).
อิรา : (อิต.) นางเทวธิดาแห่งวาจา, แผ่นดิน, น้ำ, เหล้ากลั่น. ฝนลูกเห็บ.
โอณิ : ป., อิต. ภาชนะ, ภาชนะสำหรับใส่เหล้า
กณฺฑุ (ฑู) วน : นป. การข่วน, การเกา, ความรู้สึกคัน
ตป (โป) วน : นป. สถานที่ควรแก่การบำเพ็ญตบะ, ป่าของผู้บำเพ็ญพรต
วนกมฺมิก : ป. ผู้ทำงานอยู่ในป่า
วนกุกฺกุฏ : ป. ไก่ป่า
วนคหน : นป. ป่าชัฏ
วนคุมฺพ : ป. พุ่มไม้
วนมลฺลิกา : อิต. มะลิวัลย์
ชีวน : (นปุ.) น้ำ, ความเป็นอยู่, ความเลี้ยง ชีวิต, การเลี้ยงชีวิต. ชีวฺ+ยุ ปัจ. ส. ชีวน.
ทนฺตปวน : (นปุ.) ยาสีฟัน. ทนฺต+ปุ+ยุ ปัจ. พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว. ส. ทนฺตปาวน.
อาชีวน : (นปุ.) ความเป็นอยู่, ฯลฯ. ส.อาชีวน.
อาวฏฺฏ : (วิ.) กลม, วน, วนเวียน (ห้วงน้ำที่ หมุนวน). วิ. อาวฏฺฏนฺติ ชลานิ อเตฺรติ อาวฏฺโฏ. อาปุพฺโพ, วฏฺฏฺ วตฺตฺ วา วตุ วา วตฺตเน, อ.
กฏจฺฉุปริสฺสาวน : (นปุ.) ผ้าสำหรับกรองน้ำ มีรูปคล้ายช้อน.
กณฺฑุวน กณฺฑูวน : (นปุ.) ความคัน, โรคคัน, โรคกลาก. กณฺฑฺ เภทเน, ยุ, อสฺสุวาเทโส (แปลง อ เป็น อุว) ศัพท์หลังทีฆะ.
กายภาวน : (นปุ.) การอบรมด้วยกาย, การอบรมทางกาย.
กุมุทวน : นป. หมู่บัวขาว, กอบัวขาว
จิตฺตลตาวน : นป. สวนจิตรลดา, ชื่อสวนของพระอินทร์
ชีว ชีวน : (วิ.) เป็น ( ยังไม่ตาย ), เป็นอยู่.
ชีวนชานนฺทกร : (ปุ.) พระอาทิตย์ ( ทำความเบิกบานแก่ดอกบัว).
เชตวน : (ปุ.) พระวิหารชื่อเชตวัน, พระวิหาร ชื่อว่า เชตวัน.
เชตวนโปกฺขรณีตีร : (นปุ.) ฝั่งแห่งสระโบก – ขรณีใกล้พระวิหารเชตวัน.
เชตวนมหาวิหาร : (ปุ.) วิหารใหญ่ชื่อเชตวัน, เชตวันมหาวิหาร.
ตโปวน : (นปุ.) ป่าเป็นที่ทำซึ่งความเพียร เป็นเครื่องยังกิเลสให้เร่าร้อน, ป่าเป็นที่ บำเพ็ญพรต, วนะเป็นที่อยู่ของคนมีตบะ.
ตรุวน : นป., ตรุสณฺฑ ป. หมู่ไม้, ป่าไม้, ราวป่า
ติทสภวน : นป. ภพของเทวดาชั้นไตรทศ