Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เหา , then หา, เห, เหะ, เหา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เหา, 486 found, display 1-50
  1. หา : (อัพ. นิบาต) โอ้, อ้า, เหนื่อย, ลำบาก, เป็นทุกข์, แห้งใจ. เขทัตถวาจกนิบาต.
  2. เห : (อัพ. นิบาต) โลกอื่น, ภพอื่น, เบื้องหน้า, ภพหน้า, ในเบื้องหน้า, ในภพหน้า. กาลสตฺตมิยตฺเถ นิปาโต.
  3. ลิกฺขา : อิต. มาตราชั่ง = ๑๒๙๖ อณู ; ไข่เหา
  4. อาปาลี : ป. ตัวเหา
  5. อูกา : (อิต.) เหา, เล็น. อุจฺ สมวาเย อ, จสฺสโก.
  6. โอกา : (อิต.) เหา, เล็น. อูกา แปลง อู เป็น โอ.
  7. กุมารปญฺห, - หา : ป., อิต. กุมารปัญหา, ปัญหาสำหรับเด็ก, ปัญหาที่ผูกขึ้นพอเหมาะกับภูมิปัญญาของเด็ก
  8. เทวปญฺห, - หา : ป., อิต. ปัญหาของเทวดา, ปัญหาเทวดา
  9. หานิ : (อิต.) ความเสื่อม, ฯลฯ, ความทรุดโทรม, ความฉิบหาย. หา ปริหานิเย, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ยุ เป็น อน.
  10. เหมนฺต : (ปุ.) ฤดูน้ำค้าง, ฤดูหนาว, ฤดูหิมะ. วิ. หิมานิ เอตฺถ สนฺตีติ เหโม. โส เอว เห มนฺโต. อนฺต ปัจ. สกัด. อีกอย่างหนี่งสำเร็จรูปมาจาก หิม+อนฺต (ฤดู) เอา อิ เป็น เอ. ในฎีกาสัคคกัณฑ์ วิ. หิโนติ หหานึ คจฺฉติ สพฺพกมฺม เมตฺถาติ เหมนฺโต. หิ คติยํ, อนฺโต.
  11. เหสา : (อิต.) เหสา (ฮี้) เสียงร้องของม้า วิ. เหสนํ เหสา. เหสฺ อพฺยตฺตสทฺเท, อ, อิตฺถิยํ อา. เห อิติ เสติ ปวตฺตตีติ วา เหสา. เส คติยํ, อ, อิตฺถิยํ อา. ส. เหษา.
  12. หารี : (วิ.) ผู้ควารเพื่ออันนำไปซึ่งภาะระ วิ. ภารํ หริตุ ํ ยุตฺโตสีติ หารี. ณี ปัจ.
  13. หาลิทฺท : (วิ.) อันบุคคลย้อมแล้วด้วยขมิ้น, ย้อมด้วยขมิ้น. วิ. หฺลิทฺทาย รตฺตํ หาลิทฺทํ, ณ ปัจ. ราคาทิตัท. มีสีเหลือง วิ. หลิทฺโท. อสฺส อตฺถีติ หาลิทฺทํ. ณ ปัจ. ตทัสสัตถิตัท.
  14. หานภาคิย : ค. เป็นไปในส่วนที่เสื่อม
  15. หาปก : ค. ผู้ทำให้เสื่อม
  16. หาปน : นป. ความเสื่อม, ความลดลง
  17. หายี : ค. ผู้ละ, ผู้เสื่อม
  18. หารก : ค. ผู้นำไป
  19. หาริย : ค. ควรหิ้วไปได้
  20. หาวกรณ : (วิ.) ย่างเยื้อง, เยื้องกราย, กรายกร, ฟ้อนรำ.
  21. หาสกฺขย : (ปุ.) ความสิ้นความยินดี, ฯลฯ, ความลำบาก, ความเหน็ดเหนื่อย.
  22. หาสิต : กิต. หัวเราะแล้ว
  23. เหตุกต : (วิ.) ทำแล้วเพราะเหตุ.
  24. เหตุปจฺจย : (ปุ.) ปัจจัยอันเป็นเหตุ, ปัจจัยที่เป็นเหตุ. วิเสสนบุพ. กัม.
  25. เหตุปฺปภว : (วิ.) มีเหตุเป็นแดนเกิดก่อน.
  26. เหตุเย : (ปุ.) เพื่ออันมี, เพื่ออันเป็น. หู สตฺ ตายํ, ตุ ํ หรือ เ ตฺว เป็น ตุเย อู เป็น เอ.
  27. เหมรชตฺ : (นปุ.) ทองและเงิน, ดวงตรา, เงินตรา.
  28. หาน หานิ : (นปุ.) ความเสื่อม, ความสิ้น, ความเลว, ความทราม, ความทรุดโทรม. หา ปริหานิเน, ยุ, นิ.
  29. กฏฐหารก : ป. คนหาฟืน
  30. คาหาปก : ค. ผู้ให้รับ, ผู้ให้ถือ, ผู้จัดแจง, (เสนาสนคาหาปก = ผู้จัดแจงเสนาสนะ); ผู้รับ
  31. ชิวฺหา : (อิต.) ลิ้น ( อวัยวะสำหรับลิ้มรส ) วิ. ชีวนฺติ เอตายาติ ชิวฺหา. ชีวิตนิมิตฺตํ รโส ชีวิตํ นาม, ตํ อวฺหยตีติ วา ชิวฺหา. ชีวฺ ปาณธารเณ, โห, รสฺสตฺตํ. ส. ชิวฺหา.
  32. ชุณฺหา : (อิต.) รัศมีพระจันทร์, แสงจันทร์. วิ. ชุติ อสฺสาตฺถีติ ชุณฺหา. ชุติศัพท์ ห ปัจ. แปลง อิ เป็น อ แปลง ต เป็น ณ. จนฺทสฺส ชุตึ โสภํ นยฺหติ พนฺธตีติ วา ชุณฺหา. คืน เดือนหงาย, วันดือนหงาย. ชุต (นปุ.?) ความรุ่งเรือง, ฯลฯ. ชุตฺ+อ ปัจ.
  33. ตณหา : (อิต.) นางตัณหา ชื่อธิดามาร ๑ ใน ๓ คน วิ. โย ตํ ปสฺสติ ตํ ตสิตํ กโรตีติ ตณฺหา. ตสฺ นิปาสายํ ณฺห สโลโป, อิตฺถิยํ อา.
  34. ตณฺหา : (อิต.) ความกระหาย, ความระหาย, ความอยาก, ความอยากได้, ความทะยาน (ดิ้นรน), ความทะยานอยาก (อยากได้ อยากมี อยากเป็น), ความกำหนัด (ความใครในกามคุณ), ความว่องไว (ใน อารมณ์), ความสน (นิ่งอยู่ไม่ได้), ความดิ้นรน, ความปรารถนา (ในกาม), ความเสน่หา (ติดพัน), ความแส่หา (ดิ้นรน), โลภ ความโลภ (อยากใคร่ในอารมณ์), ดำฤษณา, ตฤษณา. วิ. ตสนํ ตณฺหา. ยาย วา ตสนฺติ สา ตณฺหา ตสฺ ปิปาสายํ, ณฺห, สโลโป. ตสติ ปาตุ มิจฺฉติ เอตายาติ วา ตณฺหา. ตสติ ปาปํ อิจฺฉติ เอตายาติ วา ตณฺหา. ห ปัจ แปลง ณ. ส. ตฤษณา
  35. ทฺวชมหาสาล ทฺวิชมหาสาฬ : (ปุ.) พราหมณ์ มหาสาล วิ . มหนฺโต ธนสาโร ยสฺส โส มหาสาโล. แปลง ร เป้น ล. ทฺวิโช จ โส มหาสาโล จาติ ทฺวิชมหาสาโล. ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น ฬ.
  36. นหามี, - ปี : ค. ดู นหาปก
  37. นหารุ นหารู : (ปุ.) เอ็น, เส้น. นหฺ พนฺธเน, อรุ. ปาฐ เป็น นหารู.
  38. ปฏิคณฺหาติ : ก. ดู ปฏิคฺคณฺหาติ
  39. ปตฺตคาหาปก : ป. ภิกษุผู้เป็นปัตตคาหาปกะ, ภิกษุผู้มีหน้าที่แจกบาตร
  40. สทฺธิวิหาริก : ค. ผู้อยู่ร่วม, หมายถึงภิกษุที่บวชกับอุปัชฌาย์องค์ใดก็เป็นสัทธวิหาริกของอุปัชฌาย์องค์นั้น
  41. สีหาสน : (นปุ.) ราชอาสน์ทอง วิ. สีหากติปฺปธานํ อาสนํ สีหาสนํ, ราชูนํ สุวณฺณขฺจิตํ อาสนํ.
  42. หาริ หารี : (วิ.) งาม, งดงาม, น่าดู, น่ารัก, ดีนัก, เป็นที่ชอบใจ. วิ. หรติ จิตฺตนฺติ หาริ หารี วา. หรฺ หรเณ, อิณฺ, ณี วา. ส. หาริ.
  43. อพฺโพหาริก : (วิ.) อันเป็นอัพโพหาริกคือ ไม่ควรนับว่าผิดวินัยหรือกฏหมาย ในเพราะการกระทำบางกรณีเช่นคนที่รับประทานแกงซึ่งผสมเหล้านิดหน่อยเพื่อดับกลิ่นหรือชูรสการกินเหล้าในกรณีเช่นนี้จัดเป็นอัพโพหาริกไม่นับว่ากินเหล้าศีลไม่ขาด.
  44. อเหตุอเหตุก : (วิ.) มีเหตุหามิได้, ไม่มีเหตุ.วิ. นตฺถิตสฺสเหตูติอเหตุอเหตุโกวา.ศัพท์หลังสกัด.
  45. อีหา : (อิต.) ความเพียร, ความพยายาม, ความหมั่น, ความขยัน, ความปรารถนา, ความใส่ใจ, ความเจริญ. อีหฺ เจตายํ, อ. อิ คมเน วา, โห. อถวา, อีหฺ เชฏฐายํ . ส. อีหา.
  46. อีหามิค : (ปุ.) หมาป่า. ส. อีหามฤค. อุ (อัพ. อุปสรรค) ขึ้น, แยก, ออก, เว้น, ไม่, กำลัง, กล่าว, ประกาศ, อาจ, เลิศ. ลงใน อรรถแห่ง น บ้าง อุ. อุรพฺภ.
  47. โอหาวิม : (วิ.) เกิดด้วยการบูชา วิ. อวหเนน นพฺพตฺตํ โอหาวิมํ. อวปุพฺโพ, หุ หวฺย- ปทาเน, ณิโม. แปลง อว เป็น โอ แปลง อุ ที่ หุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อาว รูปฯ ๖๔๕.
  48. กณฺหา : (อิต.) กัณหา ชื่อคน.
  49. กาชหารก : ป. ผู้หาบ, ผู้แบกคานหาม
  50. กามตณฺหา : (อิต.) ความกำหนัดแห่งจิตอัน สหรคตด้วยกามธาตุ ความอยากในความใคร่, ฯลฯ, ความพอใจในกามทั้ง ๕, ตัณหาคือกาม.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-300 | 301-350 | 351-400 | 401-450 | 451-486

(0.0684 sec)