Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: เอว , then อว, เอว .

ETipitaka Pali-Thai Dict : เอว, 267 found, display 1-50
  1. เอว : (อัพ. นิบาต) เทียว, แล, นั่นเทียว, นั่น แล, นั่นเอง, อย่างเดียว, ทีเดียว, เท่านั้น, ทั้งนั้น, แน่นอน, แน่ละ, นั่นแหละ, นี่ แหละ, สักว่า, คือ, แน่, เด็ดขาด, ไม่เว้นละ.
  2. ตถา เอว ตเถว : (อัพ. นิบาต) ฉันนั้น, อย่างนั้น นั่นเที่ยว, เหมือนอย่างนั้น.
  3. เอวรูป เอวรูป : (วิ.) มีอย่างนี้เป็นรูป, มีรูป อย่างนี้, มีรูปเช่นนี้, มีรูปเห็นปานนี้. วิ. เอวํ รูปํ ยสฺส โส เอวรูโป เอวํรูโป วา. ศัพท์ต้น ลบนิคคหิต.
  4. เอว : (อัพ. นิบาต) ฉันนั้น, อย่างนั้น, นี้, อย่างนี้, ด้วยประการนี้, ด้วยประการอย่าง นี้, ด้วยประการนั้นเทียว, เท่านั้น, อย่างนั้น. ที่ใช้เป็นประธาน เอวํ อ. อย่างนั้น, อ. อย่างนี้ ที่ใช้เป็นคำถาม เหน็บคำว่า “หรือ”.
  5. เอวชาต : (วิ.) เกิดแล้วอย่างนี้.
  6. เอวปิ เอวมฺปิ : (อัพ. นิบาต) แม้ฉันนั้น, แม้ อย่างนี้, แม้อย่างนั้น, ฯลฯ.
  7. เอวภูต : (วิ.) เป็นแล้วอย่างนี้, บังเกิดแล้ว อย่างนี้, ฯลฯ, มีอย่างนี้เป็นแล้ว, ฯลฯ.
  8. เอวมฺปิ : อ. ฉันนั้น, ดังนี้
  9. เอวมาทิ : (วิ.) มีคำอย่างนี้ว่า...เป็นต้น, มีคำ อย่างนี้ เป็นต้น.
  10. เอวเมว : (อัพ. นิบาต) ฉันนั้นนั่นเทียว, ฉัน นั้นเหมือนกัน, ก็ฉันนั้นเหมือนกัน.
  11. เอวเมว : (อัพ. นิบาต) อย่างนั้นอย่างนั้น, อย่าง นั้น ๆ, ฉันนั้นฉันนั้น, ฉันนั้น ๆ.
  12. เอวรูป : (นปุ.) กรรมมีอย่างนี้เป็นรูป.
  13. เอวสมุปฺปนฺน : (วิ.) บังเกิดแล้วอย่างนี้.
  14. วิลคฺค : ๑. ป. กลางตัว, เอว; ๒. กิต. ข้องแล้ว
  15. องฺก : ป. ตัก, เอว, เครื่องหมาย; จำนวนเลข, ขอ
  16. องฺกา : (อิต.) ตัก, พก, เอว, บั้นเอว, สะเอว, ข้าง, สีข้าง.
  17. อุจฺจงฺก : (ปุ.) ตัก, พก, เอว, สะเอว.
  18. อุจจงฺค : (ปุ.) ตัก, พก, เอว, ส่วนต่าง ๆ ของ ร่างกาย (ส่วนใดส่วนหนึ่งก็ได้ สรีระก็ได้). อุจฺจงฺคสทฺโท องฺคสามญฺญวาจโก สรีร- วาจโก วา. วิ. อุสฺสชฺชติ เอตฺถาติ อุจฺจงคํ. อุปุพฺโพ, สชฺ สงฺเค, อ, สสฺส จาเทโส, ทฺวิตฺตํ, ชสฺส โค, นิคฺคหิตาคโม. ฏีกาอภิฯ.
  19. อุจฺฉงฺค : (ปุ.) ตัก, พก, เอว, สะเอว, ชายพก, รั้งผ้า. วิ. อุสฺสชติ เอตฺถาติ อุจฺฉงฺโค. อุปุพฺโพ, สญฺช สงฺเค, อ, สสฺส โฉ, ทฺวิตตํ (แปลง ฉ เป็น จฺฉ) และ แปลง ช เป็น ค ญฺ เป็นนิคคหิตแล้ว แปลงเป็น งฺ.
  20. อว : (อัพ. อุปสรรค)ปราศ (พ้นไป), รู้ (อวคต), ต่ำ, ลง(อวสิร), ใต้, แท้, แน่แท้ (อาธารณ), หมดจด (โวทาน), น้อย, ดูหมิ่น (อวชานน), ที่(โอกาส), ที่ว่าง, ติเตียน, แพร่หลาย, ซึมแทรก, แผ่ซ่าน, เสื่อม, กล่าว, ลัก(อวหาร), ลุ (ถึงสำเร็จ), แผนก, ส่วน.
  21. ตนุมชฺฌิม : (วิ.) อันมีในท่ามกลางตัว, เอว บางร่างน้อย.
  22. กฏิภาค : ป. เอว
  23. กฏิสุตฺตก : (นปุ.) เครื่องประดับเอว, สายรัด เอว.
  24. กมฺมาส : (วิ.) หลายสี, ด่าง, พร้อย, ดำมอ ๆ.. วิ. กโล เอว มาโส กมฺมาโส. แปลง ล เป็น ม หรือ กลํ มสตีติ กมฺมาโส. กลปุพฺโพ, มสิ ปริมาเณ, โณ.
  25. กสิกมฺม : (นปุ.) กรรมคือการไถ, การไถ, การทำนา, การเพาะปลูก. วิ. กสิ เอว กมฺมํ กสิกมฺมํ.
  26. กาโกทุมฺพริกา : (อิต.) มะเดื่อปล้อง (ใบโต คาย) วิ. กากานํ อุทุมฺพโร กาโกทุมฺพโร, โส เอว กาโกทุมฺพริกา. อิก สกัด อาอิต.
  27. การิกา : (อิต.) การทำ, ความพอใจ, ปัชชะ (ฉันท์). วิ. กรณํ กาโร, โส เอว การิกา. ณิก ปัจ. สกัด.
  28. กาล : (ปุ.) สภาพผู้บั่นทอนคือ ยังชีวิตของสัตว์ ให้สิ้นไป วิ. สตฺตานํ อายุ กลยติ เขเปตีติ กาโล. กลฺ เขเป, โณ. สภาพผู้ทำชีวิตของสัตว์ให้น้อยลง ๆ ทุกวัน ๆ วิ. สตฺตานํ ชีวิตํ ทิวเส ทิวเส อปฺปํ อปฺปํ กโรตีติ กาโล. กรฺ กรเณ, โณ, รสฺส ลตฺตํ. อายุ, ยุค, กาล, สมัย, ครั้ง, คราว, หน, เวลา, การนับ, การคำนวณ. วิ. กลฺยเต อายุปฺปมาณาทโย อเนนาติ กาโล. กลฺ สํขฺยาเณ, โณ, การทำ วิ. กรณํ กาโร, โส เอว กาโล. อภิฯ. รูปฯ วิ. กรณํ กาโล. แปลง ร เป็น ล. ส. กาล.
  29. กาฬ : (ปุ.) ดำ (สี...), เขียวคราม (สี...), สีดำ, สีเขียวคราม. วิ. วณฺเณสุ เอกโกฏฺฐ าสภา เวน กลฺยเตติ กาโล. โส เอว กาโฬ. กลฺ สํขฺยาเณ, อโล. กาติ ผรุสํ วทตีติ วา กาโฬ. กา สทฺเท, โฬ.
  30. เกตว : (ปุ.) นักเลง, นักเลงสกา, นักพนัน. กิตฺ นิ วาเส, อโว. กิตโว นาม ชุตกาโร โจโร วา. โส เอว เกตโว.
  31. โกลิต : (ปุ.) โกลิตะ ชื่อเดิมของพระโมคคัล- ลานะ วิ. กุเล ชายตีติ โกลิโก. โส เอว โกลิโต. อตฺตโน คุณํ กูลตีติ วา โกลิโต. กุลฺ ปตฺถรเณ, อิโต.
  32. ขนฺธเทส : (ปุ.) ที่ที่คอ, ที่ที่คอช้างตรงควาญ ช้างนั่ง. ดูรูปภาพจิตรกรรมประกอบ. วิ. ขนฺโธ เอว เทโส ขนฺธเทโส.
  33. ขลก ขลุงฺก ขฬุงฺก : (ปุ.) ม้ากระจอก, ม้า เขยก. วิ. ขรํ คจฺฉตีติ ขลํโค จลุงฺโค ขฬุงฺโค วา. โส เอว ขลํโก, ฯลฯ. คการสฺส กกาโร, รสฺส ลตฺตํ. ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น ฬ. เป็น ขลํค, ฯลฯ และเป็น ขลุก, ฯลฯ. บ้าง.
  34. ขุทฺทสงฺข : (ปุ.) หอยเล็ก, หอยเล็กๆ. วิ. ขิทฺโท เอว สํโข ขุทฺทสํโข ขุทฺทสงฺโข วา.
  35. คนฺธาร : (ปุ.) คันธาระ ชื่อเสียงดนตรีอย่างที่ ๔ ใน ๗ อย่าง เสียงเหมือนแพะร้อง วิ. คนฺธ เลสํ อรตีติ คนฺธโร. คนฺธปุพฺโพ, อรฺ คติยํ, อ. คนฺธโร เอว คนฺธาโร.
  36. คีติกา : (อิต.) การขับ, ฯลฯ. คีติ เอว คีติกา. ก สกัด.
  37. ฆรพนฺธน : (นปุ.) เครื่องผูกคือเรือน, วัตถุ เป็นเครื่องผูกคือเรือน. วิ. ฆรํ เอว พนฺธนํ ฆรพนฺธนํ.
  38. จกฺขายตน จกฺขฺวายตน : (นปุ.) อายตนะ คือตา วิ. จกฺขุ เอว อายตนํ จกฺขายตนํ จกฺขฺวายตนํ วา. จกฺขุ+อายตน ศัพท์ต้นลบ อุ ศัพท์หลัง แปลง อุ เป็น ว.
  39. จกฺขุทฺวาร : (นปุ.) ช่องแห่งตา วิ. จกฺขุสฺส ทฺวารจกฺขุทฺวร.ช่องคือตาวิ. จกฺขุ เอว ทฺวารํ จกฺขุทฺวารํ.
  40. ฉาตกภย : (นปุ.) ภัยคือความหิว วิ. ฉาตโก เอว ภยํ ฉาตกภยํ. ภัยอันเกิดจากความหิว วิ. ฉาตกมฺหา ชาตํ ภยํ ฉาตกภยํ. ไทยใช้ ฉาตกภัยในความหมายว่า ภัยอันเกิดจาก ไม่มีอาหารการกิน ข้าวยากหมากแพง ภัย อันเกิดจากความแห้งแล้ง.
  41. ฉาริกา : (อิต.) เถ้า, ขี้เถ้า, ถ่านเย็น. วิ. มลสฺส สรณํ กโรตีติ สาริกา, สา เอว ฉาริกา.
  42. ฉุริกา : (อิต.) เถ้า, ขี้เถ้า, ถ่านเย็น. ฉาริกา เอว ฉุริกา.
  43. ชนฺตาฆร : (นปุ.) เรือนเป็นที่รักษาซึ่งชน ผู้ ผจญซึ่งไพรีคือโรค, เรือนไฟ โรงไฟ (ห้องสำหรับรมไฟเพื่อให้เหงื่อออก). วิ. ชนฺตา เอว ฆรํ ชนฺตาฆรํ.
  44. ชรตา : (อิต.) ความแก่, ฯลฯ. วิ. ชิยฺยนฺติ วุทฺธา ภวนฺติ อสฺสนฺติ ชรา. ชรา เอว ชรตา. ตาปัจ. สกัด. ความเป็นแห่งคนแก่. ตาปัจ, ภาวตัท.
  45. ญาตก : (ปุ.) คนรู้จัก, คนรู้จักกัน, พี่น้อง, ญาติ. วิ. ญาติ เอว ญาตโก. แปลง อิ เป็น อ ก สกัด.
  46. ตปธน : (วิ.) ผู้มีศัพท์คือตบะ, ผู้มีตบะนั่น แหละเป็นทรัพย์. วิ. ตโป เอว ธนํ อสฺสาติ ตาปธโน. ฉ.พหุห.
  47. ตโปธน : (วิ.) ผู้มีความเพียรเผาบาปเป็นทรัพย์ วิ. ตโป ธนํ อสฺสาติ ตโปธโน. ผู้มีทรัพย์ คือตบะ ผู้มีตบะนั้นแหละเป็นทรัพย์. วิ. ตโป เอว ธนํ อสฺสาติ ตโปธโน. ฉ. พหุพ. รูปฯ ๓๗๗.
  48. ตารก : (ปุ.) ดาว, ดวงดาว. ดารา เอว ตารกา. ก สกัด อา อิต. ส. ตารก ตารกา ตารา.
  49. ตารกา : (อิต.) ดาว, ดวงดาว. ดารา เอว ตารกา. ก สกัด อา อิต. ส. ตารก ตารกา ตารา.
  50. ตาวตึส : (ปุ.) ดาวดึงส์ ชื่อสวรรค์ชั้นที่ ๒ ใน ๖ ชั้น, พิภพดาวดึงส์, ตรัยตรึงส์, ตรึงส์-ตรัย. วิ. เตตฺตึส ชนา นิพฺพตตนฺติ เอตฺถาติเตตฺตึโส. เตตฺตึโส เอว นิรุตฺตินเยน ตา วตึโส. แปลง เอ เป็น อย ทีฆะ อ ที่ ต เป็นอา แปลง ย เป็น ว หรือ แปลง เต เป็น ตาวลบ ตฺ สังโยค. ตาว ปฐม ตึสติ ปาตุภวตีติตาวตึโส. พื้นแผ่นดินใด เกิดปรากฏขึ้นในโลกเป็นครั้งแรกก่อน ( พื้นแผ่นดินอื่นๆ )พื้นแผ่นดินนั้น ชื่อดาวดึงส์.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-200 | 201-250 | 251-267

(0.0190 sec)