ชคฺค : นป. ความตื่นตัว, การดูแล, การเอาใจใส่
ชคฺคติ : ก. ดูแล, รักษา, เอาใจใส่, บำรุงเลี้ยง, ระวัง
ตปฺปร : (วิ.) ผู้มีสิ่งนั้น ๆ เป็นประธาน, ผู้มี ความเพียร, ผู้เอาใจใส่, ผู้ตั้งหน้า, ผู้ตั้ง หน้าตั้งตา (ตั้งใจทำ ทำอย่างจริงจัง ทำ อย่างมุ่งมั่น). วิ. ตํ ตํ จตฺถุ ปรํ ปธาน มสฺสาติ ตปฺปโร ลบ ต หนึ่งศัพท์.
นิโพธติ : ก. เอาใจใส่, สมใจ, ผูกพัน
นิรงฺกโรติ : ก. เพิกเฉย, ไม่เอาใจใส่, ละทิ้ง, ไม่แยแส, ไม่คำนึง, สบประมาท
นิสนฺติ : อิต. ความตั้งใจจริงจัง, ความเอาใจใส่สังเกต
นิสมฺม : ก. วิ. อย่างใคร่ครวญ, อย่างเอาใจใส่, อย่างระมัดระวัง
ปมาท : (ปุ.) ความมัวเมา, ความเลินเล่อ, ความลืมตน, ความเผลอ, ความไม่เอาใจใส่, ความลืมสติ, ความประมาท. วิ. ปมชฺชนํ ปมาโท. ปปุพฺโพ, มทฺ อุมฺมาเท, โณ. ไทย ใช้ ประมาท เป็นกิริยาในความว่าขาด ความรอบคอบ, ขาดความระมัดระวังเพราะ ทนงตัว และดูหมิ่น ใช้เป็นนามว่า ความเลินเล่อ, การขาดความระมัดระวัง.
ปยตฺต : ค. ผู้ขวนขวาย, ผู้พยายาม, ผู้ระมัดระวัง, ผู้เอาใจใส่
สาทร : (วิ.) เป็นไปกับด้วยความเคารพ, เป็นไปกับด้วยความเอื้อเฟื้อ, เป็นไปกับด้วยความเอาใจใส่.
สิกฺขา : (อิต.) ปฏิปทาอันบุคคลพึงศึกษา, ปฏิปทาอันเขาพึงศึกษา, ทางดำเนินอันบุคคลพึงศึกษา, ข้อที่ควรศึกษา, ข้อปฏิบัติที่ควรศึกษา, วิชชาอันบุคคลพึงศึกษา, หัวข้อที่ควรศึกษา. วิ. สิกฺขิตพฺพนฺติ สิกฺขา, ปฏิปทาอันเขาย่อมศึกษา, ฯลฯ. วิ. สกฺขิยตีติ สิกฺขา, การศึกษา, การเล่าเรียน, การสำเหนียก (เอาใจใส่ กำหนดจดจำ). วิ. สิกขนํ สิกฺขา. อ ปัจ. อา อิต. พระพุทธศาสนาวางข้อ (เรื่อง) ที่ควรศึกษาไว้ ๓ คือ ศีล สมาธิ และปัญญา เรียกว่า ไตรสิกขา.
เสขียวตฺต : (นปุ.) ข้อปฏิบัติอัน...พึงศึกษา, ฯลฯ, ข้อปฏิบัติที่ภิกษุต้องใส่ใจ, ข้อปฏิบัติที่ภิกษุต้องเอาใจใส่, วัตรที่ภิกษุต้องใส่ใจ, ฯลฯ, ข้อปฏิบัติที่ภิกษุและสามเณาต้องใส่ใจ, ข้อปฏิบัติที่ภิกษุและสามเณรต้องเอาใจใส่, วัตรที่ภิกษุและสามเณรต้องใส่ใจ, ฯลฯ.
อชฺฌาสย : (ปุ.) ฉันทะมานอนทับซึ่งตน, ฉันทะเป็นที่มานอนทับ, ฉันทะเป็นที่มานอนทับแห่งจิตอันยิ่ง, สภาพอันอาศัยซึ่งอารมณ์เป็นไป, สภาพที่จิตอาศัย, ความมุ่งหมาย, ความพอใจ, ความจุใจ, ความเอาใจใส่, ความประสงค์, ความนิยม, อัชฌาสัย, อัธยาศัย (นิสัยใจคอ).วิ.จิตฺตมชฺฌาคนฺตฺวาสยตีติอชฺฌาสโย.อธิอาปุพฺโพ, สิปวตฺติยํ, อ.คำอัชฌาในวรรณคดี ตัดมาจากคำนี้.ส.อธฺยาศย.
อนาทร : (วิ.) ไม่เอื้อเฟื้อ, ไม่เอาใจใส่, ไม่พะวงไม่นำพา, เฉยเมย, เกียจคร้าน, คร้าน, เบียดเบียน, รบกวน, ดูถูก, ดูหมิ่น, ดูแคลนไม่เห็นแก่กัน, อนาทร (อะนาทอน) ไทยใช้ในความหมายว่าเป็นทุกข์เป็นร้อนร้อนอกร้อนใจ.น+อาทร.
อนุจินฺตน : นป. การไตร่ตรอง, การเอาใจใส่
อนุวิคเณติ : ก. เอาใจใส่, เอื้อเฟื้อ, ระมัดระวัง
อปฺปมาท : (ปุ.) ความไม่เลินเล่อ, ความไม่มืดมน, ความไม่มึนเมา, ความเอาใจใส่, ความระวัง, ความไม่ประมาท.ส. อปฺรมาท.
อปวิณาติ : ก. ดูแล, เฝ้าดู, เอาใจใส่
อภิปสฺสติ : ก. เอาใจใส่, พยายามหา, ตามหา
อวธาน : นป. การเอาใจใส่, การเอื้อเฟื้อ
อาทร : (ปุ.) การเอื้อ, การเอื้อเฟื้อ, การเอาใจใส่, การเคราพ, การยำเกรง, ความเอื้อ, ฯลฯ,
อาสตฺต : (วิ.) ตั้งหน้า, เอาใจใส่, มีเพียร, มีสิ่ง นั้น ๆ เป็นใหญ่. อาปุพฺโพ, สญฺชฺ สงฺเค, โต. แปลง ต เป็น ตฺต ลบ ญฺช.
อุนฺนหนา : อิต. การพูดประจบประแจง, การพูดเอาใจคนอื่น
อุปฏฐหติ : ก. อุปัฏฐาก, บำรุง, คอยรับใช้, คอยเอาใจใส่
อุปสหรติ : ก. นำมาพร้อม, นำมารวมกัน, พิจารณา, เอาใจใส่, ช่วยเหลือ, เปรียบเทียบ
อุสฺสกฺก : (ปุ.?) ความกังวล, ความเอาใจใส่. อุปุพฺโพ, สกฺกฺ คติยํ, อ.
อาจริยก : (นปุ.) สำนักแห่งอาจารย์วิ. อาจริยสฺสสนฺติกํอาจริยกํ.ลบสนฺติเหลือแต่ก.
อาจริยา : (อิต.) อาจารย์หญิง, หญิงผู้เป็นอาจาย์เป็นอาจรินี โดยลบยลงอินีปัจ. อิต. โมคฯสมาสกัณฑ์ ๓๒.
อาจริยุปชฺฌายวตฺตาทิ : (วิ.) มีวัตรอันอันเตวาสิกพึงทำแก่อาจารย์และวัตรอันสัทธิวิหาริกพึงทำแก่พระอุปชฌายะเป็นต้น มี วิ. ตามลำดับดังนี้.จ. ตัป อาจริยสฺสกตฺตพฺพํ วตฺตํอาจริยวตฺตํ.จ. ตัปอุปชฺฌายสฺสกตฺตพฺพํ วตฺตํอุปชฺฌายวตฺตํ.อ. ทวัน. อาจริยวตฺตญฺจอุปชฺฌายวตฺตญฺจอาจริยุปชฺฌายวตฺตานิ.ฉ. ตุล. อาจริยุปปชฺฌายวตฺตานิอาทีนิเยสํตานิอาจริยุปชฺฌายวตฺตาทีนิ (วตฺตานิ).
อาจมนกุมฺภี : อิต. หม้อชำระ, หม้อสำหรับล้าง
อาจมา : (อิต.) ความว่องไว, ความปรารถนา.?
อาจเมติ : ก. ชำระล้าง, ทำความสะอาด
อาจย : ป. การสั่งสม, การรวบรวม, ก่อทำขึ้น
อาจโยค : (วิ.) ผู้ควรอันยาจกพึงขอ.
อาจรติ : ก. ประพฤติ, ปฏิบัติ, กระทำ
อาจริยมุฏฺฐิ : อิต. ความรู้พิเศษของอาจารย์, อาจารย์ที่ปิดบังความรู้
อาจริยานี : อิต. อาจารย์หญิง; ภรรยาของอาจารย์
อาจรี : ป. การสอน, การแนะนำ
อล : (อัพ. นิบาต) ไม่, อย่า, อย่าเลย, ไม่ควร, บมิควร, ช่างเถอะ, แท้จริง, พอ, พอละ, ประดับ, อาจ, สามารถ, ควร, สมควร.อลํเมพุทฺโธ.พระพุทธเจ้าควรแก่เรา.อลํที่ใช้เป็นประธานแปลว่าอ.อย่าเลยอ.พอละอ.ช่างเถิดอ.ไม่ควรสัมพันธ์ว่าปฏิเสธลิง-คัตถะ.อลํเตอิธวาเสน.อ.อย่าเลยด้วยการอยู่ในที่นี้แก่ท่าน.
อีหามิค : (ปุ.) หมาป่า. ส. อีหามฤค. อุ (อัพ. อุปสรรค) ขึ้น, แยก, ออก, เว้น, ไม่, กำลัง, กล่าว, ประกาศ, อาจ, เลิศ. ลงใน อรรถแห่ง น บ้าง อุ. อุรพฺภ.
อุสฺสหติ : ก. อุตสาหะ, เพียร; อาจ, สามารถ
กากมาสก : (ปุ.) กากมาสกะ ชื่อคนที่บริโภค มากล้นขึ้นมาถึงขอบปาก จนนกกาอาจ จิกกินได้.
คลชฺโฌหรนิย : ค. (ของแข็ง) ที่อาจกลืนกินได้
ปธสิย : ค. ซึ่งอาจถูกจำกัด, ซึ่งทำลาย, ซึ่งปล้น, ซึ่งข่มขืนได้
ปุริสาชญฺญ ปุริสาชานีย ปุรสาชาเนยฺย : (ปุ.) บุรุษผู้อาจในอันรู้ซึ่งกิจอันพลัน, บุรุษผู้รู้ซึ่งเหตุผลและสิ่งใช่เหตุโดยยิ่ง, บุรุษผู้อาชาไนย, บุรุษอาชาไนย.
โมฆิย : (วิ.) อาจเป็นโมฆะ, เป็นโมฆะ.
สกฺกุณาติ, สกฺโกติ : ก. อาจ, สามารถ
สมตฺถ : (ปุ.) ความอาจ, ความองอาจ, ความสามารถ, สมตฺฤ สตฺติยํ, อ. สา สตฺติยํ วา, โถ. แปลง อา เป็น นิคคหิต แล้วแปลงเป็น ม ซ้อน ตฺ.
สมตุถ : (วิ.) อาจ, องอาจ, สามารถ, ส. สมรฺถ.
สามตฺถ สามตฺถิย : (ปุ.) ความอาจ, ความองอาจ, ความสามารถ, ความแข็งแรง, อำนาจ, กำลัง.