กกฺกส : (วิ.) ร้าย, หยาบ, หยาบคาย, หยาบ ช้า, ทารุณ, แข็ง, กล้าแข็ง, สาหัส, ไม่เป็น ที่รัก, ไม่เป็นมงคล, ไม่ยังใจให้เอิบอาบ, เปลื่อยเน่า, โทษ. วิ. กิพฺพิสํ กโรตีติ กกฺก โส. กรฺ กรเณ, อโส, รสฺส กตฺตํ. กฺสํโยโค.
กวิ : (ปุ.) คนมีปัญญา, คนมีปัญญาดี. วิ. กวยติ กเถตีติ กวิ. กวิ วรฺณเณ, อิ. กุ สทฺเท วา. อภิฯ. คนผู้กล่าวคำเป็นที่ชอบใจ วิ. กนฺตํ กวตีติ กวิ. คนผู้กล่าวคำเป็นที่ชอบใจคือ คำอันยังใจให้เอิบ อาบ วิ. กนฺตํ มนาปวจนํ กวตีติ กวิ. กุ สทฺเท. กวฺ กวิ วณฺณายํ วา, อิ. นักปราชญ์ (ในศิลปะการประพันธ์). วิ. กพฺยํ พนฺธตีติ กวิ. อิ ปัจ. กัจฯ ๖๖๙. ส. กวิ.
โกธภกฺข : ค. (ยักษ์) มีความโกรธเป็นภักษา (ธรรมดายักษ์ยิ่งโกรธก็ยิ่งมีวรรณะเอิบอิ่มขึ้นดุจได้กินอาหาร)
เจโตผรณตา : อิต. ความแผ่ซ่านแห่งจิต, ความอิ่มเอิบแห่งจิต, ความฟูใจ
ธมฺมปีติ : อิต. ปีติในธรรม, อิ่มเอิบธรรม, ยินดีในธรรม
ปตีต : กิต. เอิบอิ่มแล้ว, ยินดีแล้ว
ปีณ : ค. เอิบอิ่ม; อ้วน, บวม
ปีณน : นป. ความเอิบอิ่ม
ปีณิต : ค. ซึ่งเอิบอิ่ม, ความยินดี
ปีเณติ : ก. เอิบอิ่ม, ยินดี
ปีติมน : ค. มีใจเอิบอิ่ม
ปีติรส : นป. รสแห่งปีติ, ความรู้สึกเอิบอาบใจ
ปีติโสมนสฺส : นป. ความเอิบอิ่มใจและความสุขใจ
พฺยาป : (วิ.) ซ่านไป, ซาบซ่าน, ซึม, ซามซึม, เอิบอาบ, แทรก, แผ่ไป, แพร่หลาย. วิปุพฺโพ, อาปฺ พฺยาปเน, อ.
มนาป : (วิ.) อันยังใจให้เอิบอาบ, เป็นที่เอิบอาบแห่งใจ, เป็นที่พึงใจ, เป็นที่พอ ใจ, เป็นที่ชอบใจ, แนบในใจ, เจริญใจ, พึงใจ, พอใจ, ดีใจ, ดีนัก, งาม. วิ. มโน ปปฺโปติ ยสฺมึ โส มนาโป. มนํ อปฺเปติ วฑฺเฒตีติ วา มนาโป. มนปุพฺโพ, อปฺ ปาปุณเน, กฺวิ.
สมฺปีเณติ : ก. เอิบอิ่ม
อภิมนาป : ค. ยินดียิ่ง, อิ่มเอิบใจ
อาป : (ปุ.) ธรรมชาตอันเอิบอาบไปสู่ที่นั้น ๆ, ธรรมชาตอันเอิบอาบไปทุกแห่ง, น้ำ.วิ.ตํตํฐานํวิสรตีติอาโป.อปฺพฺยาปเนปาปเนวา, อ.อโปติสพฺพเตรฺติวาอาโปธรรมชาตอัน....ดื่มวิ.ปาปิยตีติอาโป.อาปุพฺโพ, ปา ปาเน, อ.ธรรมชาติที่แห้งเพราะความร้อนวิ. อาปียติ โสสียตีติอาโปอาปุพฺโพ, ปา โสสเน, อ.ที่อยู่แห่งน้ำ.ณปัจ.ราคาทิตัท.ส. อาป
อาปิยติ : ก. เอิบอาบ, ซึมซาบ, เอิบอิ่ม, ไหลซ่านไป
กรณฺฑ : (ปุ. นปุ.) หม้อ, หม้อน้ำ, ภาชนะน้ำ, ภาชนะ มีฝาปิด, กะทอ, ตะกร้า, เข่ง, หีบ, ตลับ, ผอบ (ผะอบ), ขวด, กระติก, คราบ (งู), เตียบ (ตะลุ่มปากผาย มีฝา ครอบ สำหรับใส่ของกิน), อวน, กรัณฑ์. วิ. กรียตีติ กรณฺโฑ. กรฺ กรเณ, อณฺโฑ. กรณฺฑิ ภาชนตฺเถ วา, อ. อภิฯ. กัจฯ ๖๖๓ วิ. กรณฺฑิตพฺโพ ภาเชตพฺโพติ กรณฺโฑ. ก ปัจ. ลบ ก เป็น กรณฺฑก โดยไม่ลบ ก หรือลง อ ปัจ. ตามอภิฯ ก็ ลง ก สกัด บ้าง. ส. กรณฺฑ.
กุเหลิกา : อิต. การอบ, การรมควัน
คนฺธกุฏี : (อิต.) กุฏีอบแล้วด้วยของหอมอันเป็น ทิพย์ วิ. ทิพฺพคนฺเธหิ ปริภาวิตา กุฏี คนฺธกุฏี. พระคันธกุฎี กุฎิที่พระพุทธเจ้า ประทับ วิ. ชินสฺส วาสภูตํ ภวนํ คนฺธกุฎี นาม.
คนฺธรส : (ปุ.) รสแห่งของหอม, รสหอม, มด ยอบ ชื่อยางไม่ชนิดหนึ่งมีกลิ่นหอม ใช้ เป็นเครื่องยาและอบกลิ่น.
ทีปกปลฺลิกา : (อิต.) ตะคัน ชื่อเครื่องปั้นดิน เผา รูปคล้ายจาน สำหรับวางเทียนอบ หรือเผากำยาน หรือใช้ใส่น้ำมันตามไฟ อย่างตะเกียง, โคมตั้ง.
ธูปน : (นปุ.) การอบ, การรม, การอบควัน, เครื่องหอม, เครื่องฉุน, เครื่องเทศ. ธูปฺ สนฺตาเป, ยุ.
ธูปายิต ธูปิต : (วิ.) เป็นควัน, กลุ้มเป็นควัน, อบควัน, รมควัน.
ธูเปติ : ก. อบหรือรมควันด้วยน้ำมัน, บังหวนควัน
นมสฺสิตุ : อ. (ปฐ., จตุ.) การนอบน้อม, การเคารพ; เพื่อนอบน้อม, เพื่อเคารพ
นิทฺธูปน : ค. ซึ่งไม่มีกลิ่นหอม, ซึ่งไม่อบกลิ่น, ซึ่งไม่รมควัน
ปริวาสิต : กิต. อบกลิ่นหอมแล้ว, ส่งกลิ่นหอมแล้ว
ปริวาเสติ : ก. อบกลิ่นหอม, ส่งกลิ่น
ปวาสิต : ค. ซึ่งมอบให้, ซึ่งให้เกียรติ; อบกลิ่น
ปวูสิต : ค. อัน...อบกลิ่นแล้ว
วาสน : นป. การนุ่งห่ม, การอบ, เครื่องอบ
วาสิต : กิต. อบแล้ว
วิธูเปติ : ก. ปรุง, พัด, อบควัน, รมควัน
โสจ : (นปุ.) การอบ, การชำระ, ความสะอาด. สุจฺ โสจเน (สุทฺเธ), โณ.
องฺคารกปลฺล : (นปุ.) กระเบื้องแห่งถ่านเพลิง, เชิงกราน, อั้งโล่, เตาอั้งโล่, ตะคันชื่อเครื่องปั้นดินเผารูปคล้ายจาน สำหรับวางเทียนอบหรือเผากำยาน.
อธิวาส : (ปุ.) การอยู่ทับ, การอดทน, การรับ, การรับพร้อม, การอบ, การอบกลิ่นหอม, เครื่องอบ, ผ้า, ที่อยู่, บ้าน, เรือน.อธิปุพฺโพ, วสฺนิวาเส, วาสฺอุปเสวายํวา, โณ.อธิวาส.
อนุวาสน : นป. ๑. น้ำหอม ;
๒. การอบให้หอม
อนุวาเสติ : ก. ทำให้หอม, อบให้หอม
อุจฺฉาทน : (นปุ.) เครื่องอบ. อุปุพฺโพ, ฉทฺ สํวรเณ, ยุ.
อุปวาเสติ : ก. อบ, รม (ด้วยกลิ่น)
อุสุม : (ปุ.) ไอ, ไอน้ำ, ไออุ่น, ไอชุ่ม, ไออบ, ความร้อน, ฤดูร้อน, อรสุม. เรียกพยัญชนะ ที่มีลมเสียดแทรกออกมาตามฟัน ว่ามีเสียง อรสุม ได้แก่เสียง ศ, ษ, ส. ส.อุษฺม อุษมนฺ.