อน : (นปุ.) เกวียน, เลื่อน.อนุปาณเน, อ. อถวา, นตฺถินาสายสฺสาติอนํ.น+นาสาลบสารัสสะอาที่นาเป็นอแปลงนอุปสรรคเป็นอ.
ธมนิสนฺลตคตฺด : (วิ.) ผู้มีตัวสะพรั่งแล้วด้วย เอ็น.
สิรา : (อิต.) เอ็น วิ. เสติ สรรนฺติ สิรา. สิ พนฺธเน, โร, อิตฺถิยํ อา.
กณฺฑรจฺฉินฺน : (ปุ.) คนเอ็นใหญ่ขาด.
กณฺฑรา : (อิต.) เอ็นใหญ่ กฑิ เภทเน, อโร. ส. กณฺฑรา.
ขาราปตจฺฉิก : ป. การทรมาน, การลงโทษวิธีหนึ่ง โดยการใช้มีดสับร่างกายแล้วเอาแผลจุ่มน้ำกรดทำให้เนื้อหนังเอ็นหลุดไปให้เหลือแต่โครงกระดูก
ธมนิ : (อิต.) เอ็น, เอ็นนำรสไป, เส้นเอ็น, ไม้อ้อ. ธมฺ สทฺเท, ยุ. อิดิถิยํ อิ. หรือ ธมฺ+อนิ ปัจ. รูปฯ เป็น ธมณิ.
ธมนิ, - นี : อิต. เส้นเลือด, เส้นเอ็น, เส้นประสาท
ธมนิสนฺถตคตฺต : ค. มีตัวอันสะพรั่งด้วยเส้นเอ็น
ธมนี : (อิต.) เอ็น, เอ็นนำรสไป, เส้นเอ็น, เส้นประสาท. วิ. ธมนฺติเอเตน วีณาทโยติธมนี. ธมฺ สทฺเท. ยุ. อนิ วา, อิตฺถิยํ อี.
นหารุ, (นฺหารุ) : นป., อิต. เอ็น, เส้นเอ็น
นหารุ นหารู : (ปุ.) เอ็น, เส้น. นหฺ พนฺธเน, อรุ. ปาฐ เป็น นหารู.
มหาสิรา : (อิต.) เอ็นใหญ่.
อนติจริยา : (อิต.) การไม่ประพฤตินอกใจ.
อนติจาริณี : (อิต.) หญิงผู้ไม่ประพฤตินอกใจ.
อนติมานี : (วิ.) หามานะมิได้, ไม่มีมานะ.
อนติริตฺต : (วิ.) น้อย, ขาดแคลน, มิใช่เดน, ไม่เป็นเดน.
อนนุคิทฺธ : (วิ.) มิได้กำหนัดยินดีต่อบุคคลผู้นำสักการะมาบูชาตน, มิได้กำหนัดยินดี.
อนนุจฺฉวิก : (วิ.) อันไม่สมควร.
อนนุตาปิย : (นปุ.) กรรมมิใช่กรรมอันเป็นที่ตั้งแห่งความเดือดร้อนในภายหลัง.
อนนุรูป : (นปุ.) กรรมไม่เป็นไปตามซึ่งรูป.
อนนุวชฺช : (วิ.) อัน...ไม่พึงติเตียน.น+อนุ+วทฺ+ณฺยปัจ.
อนปทาน : (วิ.) มีมารยาทไม่สมควร. น+อปทาน
อนเปกฺข : (วิ.) เฉยเมย.
อนโวสิต : ค. ไม่สมบูรณ์, ไม่สำเร็จ
อนสน : นป. การอดอาหาร, การไม่ได้กินอาหาร
อนสิตฺวาน : กิต. ไม่ได้กินแล้ว, อดอยากแล้ว
อนสุยฺย : กิต. ไม่บ่น, ไม่ริษยา
อนสุโรป : ป. ความไม่โกรธ, ความไม่เกลียด
อนสูยก : ค. ซึ่งไม่บ่น, อันไม่ริษยา
โอน : (วิ.) หย่อน, พร่อง, ไม่เต็ม, ถอย. อูนฺ ปริหานิเย, โณ.
อณุ อนุ : (วิ.) น้อย, เล็ก, น้อยมาก, เล็กมาก, ละเอียด, ละเอียดมาก. อณฺ คติยํ, อุ. ศัพท์หลัง แปลง ณุ เป็น นุ.
อนุ : (อัพ. อุปสรรค)น้อย, ภายหลัง, ตาม, เนืองๆ, บ่อยๆ, ต่ำ.ส. อนุ.
อนฺเ ตปุริก : (ปุ.) บุคคลผู้อยู่ภายในแห่งบุรี, ข้าราชการในสำนัก, ข้าราชการในพระราชสำนัก.
อิน : (ปุ.) พระอาทิตย์, นาย, สามี, ผัว, เจ้า. วิ. เอสิ อิสฺสรตฺต มคมาสีติ อิโน. อิ คมเน, อิโน, โน วา ส. อิน.
อูน, อูนก : ค. หย่อน, พร่อง
เอน : ส. นี้, คนนี้, สิ่งนี้
กิรณ : (ปุ.) รัศมี, แสง. วิ. กิรติ ติมิรนฺติ กิรโณ. กิรฺ วิกฺเขเป, กิรติ ปตฺถรตีติ วา กิร โณ. กิรฺ ปสารเณ. อภิฯ ลง อน ปัจ. แปลง น เป็น ณ รูปฯ ลง ยุ ปัจ.
กุชฺฌน : (นปุ.) ความโกรธ. กุธฺธาตุ ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ย ปัจ. นามกิตก์ แปลง ธฺย เป็น ชฺฌ ยุ เป็น อน.
กุชฺฌนา : (อิต.) ความโกรธ. กุธฺธาตุ ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ย ปัจ. นามกิตก์ แปลง ธฺย เป็น ชฺฌ ยุ เป็น อน.
ฉิชฺชน : (วิ.) ขาด, ทะลุ, แตก, สลาย, เสียหาย, ผิด. ฉิทฺ ธาตุ ในความตัด, ฯลฯ. ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ยุ ปัจ. แปลง ทฺย เป็น ชฺช ยุ เป็น อน.
ชคฺคน : (นปุ.) การกวาด, การเช็ด, การถู, การทำความสะอาด. มชฺชฺ สํสุทฺธิยํ, ยุ. แปลง ม เป็น ค แล้วแปลง ค เป็น ช แปลง ชฺช ท้ายธาตุเป็น คฺค แปลง ยุ เป็น อน.
ตสฺสน : (นปุ.) ความกระหาย, ความระหาย, ความกระหายน้ำ. ความอยากเพื่ออันดื่ม, ความอยากเพื่อจะดื่ม, ความอยากจะดื่ม. ตสฺ ปิปาสายํ, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวด ธาตุ แปลง สฺย เป็น สฺส ยุ เป็น อน.
ทปฺปณ ทปฺปน : (นปุ.) แว่น, กระจก, วิ. ทิปฺปติ เอตฺถาติ ทปฺปโณ ทปฺปโน วา. ทิปฺ ทิตฺติยํ, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ เป็น ทิปฺย แปลง ปฺย เป็น ปฺป ยุ เป็น อน ศัพท์ต้น แปลง น เป็น ณ.
นจฺจน : (นปุ.) การเต้น, การรำ, การเต้นรำ, การฟ้อนรำ. นตฺ คตฺตวิมาเน, ยุ ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ตฺย เป็น จฺจ ยุ เป็น อน.
นจฺจาปน : (วิ.) ให้ฟ้อนอยู่. นตฺ ธาตุ ย ปัจ. ประจำธาตุ ณาเป ปัจ. เหตุ. ยุ ปัจ. แปลง ตฺย เป็น จฺจ ลบ ณฺ และ เอ แปลง ยุ เป็น อน.
นฏน นฏฺฏ นตฺตน : (นปุ.) การฟ้อน, การรำ, การฟ้อนรำ, การเต้น, การเต้นรำ. ศัพท์ที่ ๑, ๒ นฎ นตฺยํ. ศะพท์ตัน ยุ ปัจ. ศัพท์ที่ ๒ อ ปัจ. และแปลง ฏ เป็น ฏฺฏ ศัพท์ที่ ๓ นตฺ คตฺตวิมาเน. ลง ย ปัจ. ประจำธาตุ และ ยุ ปัจ. นามกิตก์ แปลง ตฺย เป็น จฺจ ยุ เป็น อน. ส. นรฺตน, นฤดี.
นิปชฺชน : (นปุ.) การถึง, การนอน, นิปุพโพ, ปทฺ คติยํ, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ทฺย เป็น ชฺช ยุ เป็น อน.
นิพฺพิชฺฌน : (นปุ.) การเจาะออก, ความเจาะ ออก, ความตรัสรู้, ความบรรลุ. นิปุพฺโพ, วิธ. วิชฺฌเน, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ธฺย เป็น ชฺฌ ยุ เป็น อน.
ปมชฺชน : (นปุ.) ความมัวเมา, ความประมาท. ปปุพฺโพ, มทฺ อุมฺมาเท. ย ปัจ. ประจำ หมวดธาตุ ยุ ปัจ. แปลง ทฺย เป็น ชฺช ยุ เป็น อน.