ปญฺหา : อิต. คำถาม
ปฏิสงฺขโรติ : ก. ปฏิสังขรณ์, แก้ไข, ซ่อมแซม, ปรับปรุง
วิสฺสชฺเชติ : ก. ชี้แจง, แก้ไข; สละ
ปฏิจฺฉาเทติ : ก. ปกปิด, ปิดบัง, ซ่อนเร้น, อำพราง, นุ่งห่ม, พัน, ปิด, รักษา (แผล); กลบเกลื่อน, ทำให้สับสน, อำพราง (ปัญหา)
ปฏิจรติ : ก. เที่ยวไป, ท่องเที่ยว, เกี่ยวข้อง; กลบเกลื่อน, ทำให้สับสน, พูดวกวน, พูดกลับไปกลับมา, ทำ (ปัญหา) ให้คลุมเครือ
วินิเวเฐติ : ก. แก้ไข
กุมารปญฺห, - หา : ป., อิต. กุมารปัญหา, ปัญหาสำหรับเด็ก, ปัญหาที่ผูกขึ้นพอเหมาะกับภูมิปัญญาของเด็ก
กุมารีปญฺห : ป. การอัญเชิญเทวดาให้เข้าทรงหญิงสาวแล้วถามปัญหา, การให้หญิงสาวเข้าทรงแล้วถามปัญหา, การเป็นหมอทรงหญิงสาว
เตกิจฺฉ : ค. อันแก้ไขได้, ซึ่งพอจะรักษาได้, ผู้ควรเยียวยา
เทวปญฺห : นป. การอัญเชิญเทวดาเข้าทรงแล้วถามปัญหา, การเป็นหมอทรงเจ้า
เทวปญฺห, - หา : ป., อิต. ปัญหาของเทวดา, ปัญหาเทวดา
ปญฺหาวฺยากรณ : นป. การตอบปัญหา
ปญฺหาวิสชฺชน : นป. การแก้ปัญหา
ปฏิกมฺม : นป. การทำคืน, การทำตอบ, การชดใช้, การให้คืน, การแก้ไข, การโอนให้
ปฏิจิกฺขติ : ก. กล่าวตอบ, แก้ปัญหา
ปฏิวิเสส : ป. อาการอันพิเศษยิ่งขึ้น, อาการที่แยกแยะให้เห็นเฉพาะแต่ละอย่างๆ (เกี่ยวกับการวินิจฉัยปัญหา)
ปฏิสงฺขรณ : นป. การปฏิสังขรณ์, การซ่อมแซม, การแก้ไข
ปณฺฑา : อิต. ปัญหา, ความรู้
พุทฺธปญฺห : ป. ปัญหาที่เกี่ยวกับพระพุทธมนต์ ซึ่งพระสารีบุตรถามปริพพาชิกา ชื่อกุณฑลเกสี
ยูส : (ปุ.) แกง (จากมิลินทปัญหา), น้ำคั้น, น้ำคั้นจากลูกไม้. ยุสฺ หึสายํ, อ, ทีโฆ. เป็น นปุ. ก็มี.
วิกโรติ : ก. แก้ไข, เปลี่ยนแปลง
อเตกิจฺฉ : ค. แก้ไขไม่ได้, เยียวยาไม่ได้
อเตกิจฺฉา : (อิต.) แก้ไขไม่ได้, เยียวยาไม่ได้.
อปฺปฏิสนฺธิก, - สนฺธิย : ค. ๑. ไม่อาจถือปฏิสนธิอีก, ไม่กลับมาเกิดอีก;
๒. แก้ไขไม่ได้ ;
๓. รวมกันไม่ได้
อปุจฺฉ : ค. ไม่ใช่ปัญหา, ไม่น่าถาม
อสมฺปายนฺต : อิต. ไม่อาจแก้หรืออธิบายได้, ไม่อาจตอบปัญหาได้
อาทาสปญฺห : ป., นป. การเชิญเทวดาให้ปรากฏในกระจกแล้วถามปัญหา, การเล่นผีถ้วยแก้ว
เอกสวยากรณ : นป. การตอบปัญหาแง่เดียว
กขา กงฺขา : (อิต.) ความแคลง, ความแคลงใจ, ความไม่แน่ใจ, ความเคลือบแคลง, ความกินแหนง, ความลังเล, ความสงสัย, ความสนเท่ห์. กขิ กํขฺ วา วิจิกิจฺฉายํ, อ, อิตถิยํ อา.
กีทิส กีทิกฺข กีริส กีริกฺข กีที : (วิ.) เช่นไร, ผู้เช่นไร. วิ. กมิว นํ ปสฺสตีติ กีทิโส (เห็น ซึ่งบุคคลนั้นราวกะบุคคลไร, ...ราวกะว่า ใคร). โก วิย นํ ปสฺสตีติ กีทิโส วา (เห็น ซึ่งบุคคลนั้นราวกะ อ. ใคร). กีปุพฺโพ, ทิสฺ เปกฺขเณ, กฺวิ. ลบ นิคคหิต ทีฆะ ศัพท์ที่ ๒ และ ๔ แปลง ส เป็น กฺข ศัพท์ที่ ๓ และ ๔ แปลง ท เป็น ร ศัพท์ที่ ๕ แปลง ส เป็น อี รูปฯ ๕๗๒. โมคฯ สมาสกัณฑ์ ๘๗ ลง ริกฺข ปัจ.
ตาทิส ตาทิกฺข ตาริส ตาที : (วิ.) ผู้เช่นนั้น, ผู้คงที่. วิ. ต มิว นํ ปสฺสตีติ ตาทิโส (เห็น ซึ่งบุคคลนั้นดังว่าบุคคลนั้น ). โ ส วิย ทิสฺสตีติ ตาทิโส ( เห็นราวกะว่าคนนั้น ). ต+ทิสฺ+กฺวิ ปัจ. แปลงที่สุดธาตุเป็น ส กฺข อี ทีฆะ อ ที่ ต เป็น อา ศัพท์ที่ ๓ แปลง ทฺ เป็น รฺ รูปฯ ๕๗๒ ส่วนโมคฯ สมาส กัณฑ์๘๘ ตั้ง ตุมฺห เป็นบทหน้า แปลว่า ผู้เช่นนบทหน้า ท่าน วิ. ตฺวมิว ทิสฺสตีติ ตาทิโส ตาทิกฺโข วา ตาริโส วา ตาที วา (เห็นราวกะว่าท่าน). แปลง ตฺวํ เป็น ตา.
ทุคฺค : (นปุ.) ที่อัน...ไปได้โดยยาก, ความยาก, ช่องแคบ, กำแพง, ป้อม, คู, หอรบ, ห้วง น้ำ, หล่ม อุ. ปงฺคทุคฺค หล่มคือเปลือกตม. ทุกฺข+คมฺ+อ ปัจ. ลบ กฺข และ มฺ ซ้อน คฺ. ส. ทุรค.
ทุคฺคต. : (ปุ.) คนถึงแล้วซึ่งความยาก, คนถึงแล้วซึ่งยาก, ฯลฯ, คนเข็ญใจ. วิ. ทุกขํ คโต ทุคฺคโต. ลบ กฺข ซ้อน ค.
ทุคฺคติ : (อิต.) คติชั่ว วิ. ทุฎฺฐุ คติ ทุคฺคติ. ลบ ฎฺฐุ ซ้อน คฺ. คติอันบัณฑิตติเตียน วิ. กุจฺฉิตา คติ ทุคฺคติ. ลบ จฺฉิต แปลง กุ เป็น ทุ, การไปชั่ว, ความเป็นไปชั่ว, ภูมิเป็นที่ไป ชั่ว. ทุ+คติ ซ้อน คฺ. ที่เป็นที่ไปแห่งทุกข์, ที่เป็นที่ถึงซึ่งทุกข์. วิ. ทุกขสส คติ ทุคคติ. ลบ กขฺ ซ้อน ค. ภูมิเป็นที่ตั้งแห่งทุกข์ วิ. ทุกฺขสฺส คติ ปติฏฺฐา ทุคฺคติ, ทุคคติ (ภพชั่ว). ส. ทุรฺคติ.
ทุทฺทท : (วิ.) อัน...ถวายได้โดยยาก, อันให้ได้โดยยาก. ทุกฺข+ทท ลบ กฺข ซ้อน ทฺ
ทุทฺทส : (วิ.) อัน...เห็นได้โดยยาก, เห็นยาก, เห็นได้ยาก (ยากที่สัตว์ทั้งหลายทั้งปวง จะหยั่งรู้หยั่งเห็น). วิ. ทุกฺเขน ปสฺสิตพฺโพติ ทุทฺทโส. ทุกฺข+ทิสฺ +ข ปัจ. แปลง ทิสฺ เป็น ทส ลบ กฺข และ ปัจ. ซ้อน ทฺ.
ทุราคม : (ปุ.) การถึงได้โดยยาก, การถึง ลำบาก, การอยู่ห่างไกล. ทุกฺข+อาคม ลบ กฺข รฺอาคม.
สาทิส สาทิกฺข สาริกฺข สาริส สาที : (วิ.) เหมือน, เหมือนกัน, คล้าย, คล้ายกัน, เช่นกัน. วิ. สมานํ กตฺวา นํ ปสฺสติ สมาโน วิย ทิสสตีติ สาทิโส สาทิกฺโข วา สริกฺดข วา สาริโส วา สาที วา. สมานปุพฺโพ, ทิสฺ เปกฺขเณ, กฺวิ. แปลง สมาน เป็น ส ทีฆะ อ ที่ ส เป็น อา ลง อ ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แล้วแปลงที่สุดธาตุเป็น กฺข อี แปลง ทฺ อักษรต้นธาตุเป็น รฺ บ้าง.
สุกฺข : (วิ.) แห้ง, เหี่ยว, แล้ง, สุสฺ โสสเน, โต. แปลง ต เป็น กฺข ลบที่สุดธาตุ รูปฯ ๖๐๑.
อีทิส อีทิกฺข อีริส อีริกฺข อีที : (วิ.) เช่นนี้ วิ. อิมมิว นํ ปสฺสตีติ อีทิโส (เห็นซึ่ง บุคคลนั้นราวกะว่าบุคคลนี้). อิม ศัพท์ ทิสฺ ธาตุ กฺวิ ปัจ. ลบ ม แล้วทีฆะหรือแปลง อิม เป็น อิ แล้วทีฆะ ศัพท์ที่ ๒ และ ๔ แปลง ส เป็น กฺข ศัพท์ที่ ๓ และ ๔ แปลง ท เป็น ร ศัพท์ที่ ๕ แปลง ส เป็น อี กัจฯ ๖๔๒ รูปฯ ๕๗๒.
เอตาทิส เอทิกฺข เอริกฺข เอทิส เอริส เอที : (วิ.) เห็น...นั้นประดุจ...นี้, เห็นซึ่งบุคคล นั้นประดุจบุคคลนี้, เห็นบุคคลนั้นราวกะ ว่าบุคคลนี้, เห็นปานนี้. วิ. เอตมิว นํ ปสฺสตีติ เอตาทิโส, ฯลฯ. เอตศัพท์ซึ่ง แปลงมาจาก อิม เป็น บทหน้า ทิสฺ ธาตุ ในความเห็น กฺวิ ปัจ. ศัพท์แรก ทีฆะ อ ที่ ต ศัพท์หลัง ๆ แปลง เอต เป็น เอ ศัพที่ ๒ และ ๓ แปลง สฺ เป็น กฺข ศัพท์ ที่ ๓ และ ๕ แปลง ท เป็น ร ศัพท์ที่ ๖ ลบ ที่สุดธาตุ แปลง อิ เป็น อี. รูปฯ ๕๗๒.