คามกูฏ : ป. คนโกง, คนประจบประแจง, คนสอพลอ
สิงฺฆาฎก : (นปุ.) ทางมารวมกัน, ตะแลงแกง (ทางมารวมกัน), ทางสามแยก, ทางสี่แยก, ทางสามแจง (แยกออกเป็น ๓ สาย), ทางสี่แจง, ทางสามแพร่ง (แยกออกเป็น ๓ สาย), ทางสี่แพร่ง, ตรอกสามแจง, ตรอกสี่แจง, ฯลฯ, ชุมทางสามแยก, ชุมทางสี่แยก, ฯลฯ. วิ. สึฆติ เอกีภาวํ ยาตีติ สิงฺฆาฎโก. สึฆฺ ฆฎเน, อาฎโก.
อุนฺนหนา : อิต. การพูดประจบประแจง, การพูดเอาใจคนอื่น
กลฺลหาร : (นปุ.) จงกลณี (บัวดอกคล้ายบวบ ขม) วิ. กสฺส ชลสฺส หารํ วิย โสภากรตฺตา กลฺลหารํ. ก+หาร ลง ลฺ อาคมหลัง ก แปลง ลฺ เป็น ลฺล เป็น ปุ. บ้าง.
อญฺชาหิ : ก. จงหยอด
อตฺถุ : (อัพ. นิบาต) จงยกไว้, ก็ตามแต่ ก็ตามที(ตอบอย่างไมม่พอใจ), โดยแท้.
อินฺทมฺพร อินฺทวร อินฺทิราวร อินฺทีวร : (ปุ.) บัวเขียว, บัวสีน้ำเงิน, นิลจง.
อุตฺติฏฐ : ก. (ท่าน) จงลุกขึ้น
เอหิ : ก. จงมา
เอหิปสฺสิก : (วิ.) ควรซึ่งวิธีว่า อ. ท่านจงมาดู, ควรซึ่งวิธีว่าท่านจงมาดู, ควรเรียกให้มาดู. วิ. เอหิ ปสฺสาติ อิมํ วิธึ อรหตีติ เอหิปสฺ สิโก. ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. รูปฯ ๓๖๐. โมคฯ ขาทิกัณฑ์ วิ. เอหิปสฺสวิธึ อรหตีติ เอหิปสฺสิโก.
เอหิภิกฺขุ : (ปุ.) เอหิภิกขุ คำเรียกภิกษุผู้ได้รับ อุปสมบทจากพระพุทธเจ้าโดยพระดำรัส ว่า จงเป็นภิกษุมาเถิด ถ้าผู้อุปสมบทยังไม่ บรรลุพระอรหัต จะตรัสเพิ่มอีกว่า จงทำที่ สุดทุกข์โดยชอบเถิด.
เอหิภิกฺขุปพฺพชา : (อิต.) การบวชด้วยพระ ดำรัสว่า จงเป็นภิกษุมาเถิด.
เอหิภิกฺขุอุปสมฺปทา : (อิต.) การอุปสมบท ด้วยพระดำรัสว่าจงเป็นภิกษุมาเถิด, เอหิ ภิกขุ อุปสัมปทา คำเรียกอุปสมบท อย่าง ที่ ๑ ใน ๓ อย่าง เป็นวิธีที่พระพุทธเจ้า ทรงเอง.