ชุ : (วิ.) รุ่งเรือง, สว่าง, ส่องสว่าง, กระจ่าง, ขาว, ใส, งาม, บริสุทธิ์. ชุ ทิตฺติยํ, อ.
ทิช : (วิ.) เจริญ, รุ่งเรือง, ส่องสว่าง, กระจ่าง, ขาว. ชุ ทิตฺติยํ, อ. เทว๎ภาวะ ชุ แปลง อุ เป็น อิ เป็น ชิ แปลง ชิ เป็น ทิ.
ทิตฺต : (วิ.) สวยงาม, สว่าง, กระจ่าง, ขาว, รุ่งเรือง, ลุกโพลง, ร้อน, เย่อหยิ่ง, ไว้ตัว. ทิปฺ ทิตฺติยํ, โต.
วิมล : ค. ปราศจากมลทิน, สะอาด, กระจ่าง
อุชฺชล : ค. โชติช่วง, โพลง, แจ่ม
อุชฺโชเตติ : ก. ส่องสว่าง, กระจ่าง, ลุกโพลง
โอช : (วิ.) รุ่งเรือง, สว่าง, ส่องสว่าง, สวยงาม, กระจ่าง, ขาว, มีกำลัง, อร่อย, ดี (รส...), โอชฺ ทิตฺติยํ, อ. อุปุพฺโพ วา, ชนฺ ชนเน.
ชุณห : ค. กระจ่าง, สว่าง, แจ่มใส
จิตฺตปฏิสเวที : (วิ.) รู้พร้อมเฉพาะซึ้งจิต, จิตตปฏิสังเวที(ทำให้จิตแจ่มแจ้ง).
ญาณกรณ, - ณี : ค. อันทำให้เข้าใจแจ่มแจ้ง, อันทำให้รู้แจ้ง
ญาณทสฺสี : นป. ผู้มีความเห็นอันแจ่มแจ้ง
โทสิน : ค., อิต. แจ่มแจ้ง, ปราศจากโทษ; (ราตรี) ซึ่งแจ่มจ้า, ซึ่งสว่างด้วยแสงจันทร์, คืนจันทร์แจ่ม
โทสินาปุณฺณมาสี : อิต. ดิถีเพ็ญที่แจ่มจ้า, คืนวันเพ็ญที่มีพระจันทร์แจ่ม
โทสินามุข : นป. พระจันทร์ในคืนปราศจากเมฆหมอก, จันทร์แจ่ม
ธมฺมทสฺสน : (นปุ.) การเห็นซึ่งธรรม, ความเห็นซึ่งธรรม, ความเห็นธรรม, ธรรมทัศน์(ความเห็นธรรมอย่างแจ่มแจ้ง).
นิปก : (วิ.) ผู้ยังกุศลกรรมให้สุกโดยไม่เหลือ (คือมีในตนให้สมบูรณ์), ปัญญาอัน ยังกุศลธรรมให้สุกโดยไม่เหลือ. วิ นิสฺเสสโต ปาเจติ กุสลธมฺเมติ นิปโก. นิปปุพฺโพ, ปจฺ ปาเก, อ, จสฺส โก.ผู้มี ปัญญาเป็นเครื่องรักษาซึ่งตนโดยไม่เหลือ, ผู้มีปัญญาเป็นเครื่องรักษาตน,ผู้มีปัญญา รักษาตน, ผู้รักษาตนให้สิ้นจากปฏิปักษ์. นิปุพฺโพ, ปา รกฺขเณ, อ, สกตฺเถ โก.ผู้ยัง ปฏิปักษ์ให้สิ้น วิ.นิปยติปฏิกฺขนฺติ นิปโก. นิปุพฺโพ, เป โสสเน, อ, สกตเถ โก.ผู้มี ไหวพริบ,ผู้ฉลาด,ผู้รอบคอบ,ผู้มีปัญญา, ผู้มีปัญญาแจ่มแจ้ง,ผู้มีความรู้,ผู้มีความ ตรัสรู้,ผู้มีญาน, ผู้มีปัญญาทำลายกิเลส. ไตร. ๓๐/๒๑๐.
นิพฺเพฐิต : ค. (อันเขา) อธิบาย, ทำให้แจ่มแจ้ง, สางออก, แก้ออก
นิพฺเพเฐติ : ก. อธิบาย; ทำให้แจ่มแจ้ง, สางออก, แก้ออก
นิเวฐน : นป. การแก้ออก, การสางออก, การอธิบาย, การทำให้แจ่มแจ้ง
นิเวเฐติ : ก. แก้ออก, สางออก, อธิบาย, ทำให้แจ่มแจ้ง, ปฏิเสธ
ปจฺจกฺข : ค. ประจักษ์, ชัดเจน, แจ่มแจ้ง, แน่นอน
ปฏิภาณ, - ภาน : นป. ปฏิภาณ, ไหวพริบ, ความสามารถพูดโต้ตอบได้ฉับไว, ความเฉียบแหลม, ความแจ่มแจ้ง
ปฏิภาติ : ก. แจ่มแจ้ง, ปรากฏชัด (ขึ้นในใจ)
ปฏิเวธ : ป. การแทงตลอด, การเข้าใจตลอด, การรู้แจ่มแจ้ง, การบรรลุธรรม
ปากาสิย : ค. ซึ่งปรากฏ, เห็นชัด, แจ่มแจ้ง
ผุฏ ผุฏน : (นปุ.) อันบาน, อันเปิดออก, อันปรากฏ, อันแจ่มแจ้ง, การบาน, ฯลฯ, ความบาน, ฯลฯ. ผุฏฺ วิกสเน, อ, ยุ. อันแตก, อันทำลาย, อันสลาย. ผุฏฺ วิเภเท, อ, ยุ.
พฺยตฺต : (วิ.) ผู้เป็นไปวิเศษ, ปรีชา, ฉลาด, เฉียบแหลม, แจ้ง แจ่มแจ้ง. วิเสส+อทฺ ธาตุในความเป็นไป ต ปัจ.
เวยฺยตติย : นป. ความสว่าง, ความกระจ่าง, ความสำเร็จ
สมธิคจฺฉติ : ก. บรรลุยิ่ง, เข้าใจแจ่มแจ้ง
อภิภาสน : นป. การตรัสรู้, ความแจ่มแจ้งในใจ, ความดีใจ
อวิภาวี : ค. ผู้ไม่มีปัญญาแจ่มแจ้ง
อาวิ : อ. ที่แจ้ง, ที่เปิดเผย, จะแจ้ง, กระจ่างแจ้ง
อาวิกโรติ : ก. ทำให้แจ้ง, อธิบายให้เข้าใจแจ่มแจ้ง
อาวิภวติ : ก. แจ่มแจ้ง, ปรากฏชัด
อาวิภาว : ป. ความปรากฏแจ่มแจ้ง, ความปรากฏชัด
อุกฺกาจิต : กิต. ทำให้สว่างแล้ว, ทำให้แจ่มแจ้งแล้ว
อุตฺตาน, - นก : ค. หงาย, นอนหงาย ; มีเนื้อความตื้น, ง่าย, แจ่มแจ้ง
โอกฺขายติ : ก. ปรากฏชัด, แจ่มแจ้ง; ชอนเข้าไป
อุปฺลาเปติ : ก. จุ่ม, จม, ดำ, ท่วม
จมู : (อิต.) เสนา, กองทหาร, กองทัพ, กองทัพบก. จมุ อทเน (คมเน), อู อภิฯ ลง อุ ปัจ. เป็น จมุ ฎีกาอภิฯลง อู ปัจ. เป็น จมู. ส. จมู.
จิมิ : ป. นกแก้ว
ปญฺจม : ค. ที่ห้า
ปญฺจมหาปริจฺจาค : ป. การเสียสละอย่างใหญ่ห้า (สมบัติ, ลูก, เมีย, อวัยวะ, ชีวิต)
ปญฺจมหาวิโลกน : นป. การตรวจตราใหญ่ห้าประการ (เวลา, ประเทศ, ทวีป, ตระกูล, มารดา)
วิสีทติ : ก. จม
สสีทติ : ก. จม
สีทติ : ก. จม
กโมฆ : ป. ห้วงคือกาม, กามมีอาการพัดจิตให้จมลงดุจห้วงน้ำ
กลลคต : ค. ตกโคลน, จมโคลน
กาจ : (ปุ.) สาแหรก, จักษุโรค (โรคตาชนิด หนึ่ง), กระจก กาจมโย ปตฺโต ธาเรตพฺโพ. ภิกษุไม่พึงใช้บาตรกระจก ไตร. ๗ / ๓๔. โบราณแปลว่าแก้วหุง. กจฺ พนฺธเน, โณ.