ขลฺล : ป., ค. รางน้ำ, เครื่องแต่งตัวที่ทำด้วยหนัง; แตก, ร้าว
ฉิชฺชติ : ๑. ก. อันเขาตัด, อันเขาทำให้แตก, อันเขาฉีก, อันเขาทำให้ขาด, อันเขาทำลาย, อันเขาเจาะ;
๒. ตัด, แตก, ฉีก, ขาด, ทำลาย
ฉิชฺชน : (วิ.) ขาด, ทะลุ, แตก, สลาย, เสียหาย, ผิด. ฉิทฺ ธาตุ ในความตัด, ฯลฯ. ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ยุ ปัจ. แปลง ทฺย เป็น ชฺช ยุ เป็น อน.
เฉท เฉทน : (วิ.) ตัด, โกน, บั่น, ทอน, เฉือน, เชือด, แขวะ, ควัก, ขาด, ทะลุ, แตก, ทำลาย, สลาย. ฉิทิ เทฺวธากรณฉิชฺชเนสุ, อ, ยุ.
ทาเรติ : ก. ผ่า, แยก, เซาะ, แตก, พัง, ทำลาย
ทาล ทาฬ : (วิ.) ตัด, ทอน, แตก, แยก, ทำลาย. ทลฺ วิทารเณ, โณ.
ปทาร ปทาล ปทาฬ : (วิ.) ทำลาย, แตก, แยก. ปปุพฺโพ, ทรฺ ทลฺ วา วิทารเณ, โณ.
ผลิต : ค. ผมหงอก, แตก; ผลิ, ผลิผล, มีผลดก
เภชฺช : ค. เปราะ, กะเทาะ, แตก
เภท : (วิ.) ต่อย, แตก, ทำลาย, หัก, พัง, เจาะ, ต่าง (ผิดแผก ไม่เหมือนเดิม), แปลก.
เภเทติ : ก. ทำลาย, แบ่ง, แยก, แตก
สมฺภญฺชติ : ก. หัก, แตก
อาวิล : (วิ.) ขุ่น, มัว, เศร้าหมอง, แตก, ทำลาย. อาปุพฺโพ, พิลฺ เภทเน, อ. แปลง พ เป็น ว. อภิฯ ลง ณ ปัจ. ส. อาวิล.
ขณฺฑาขณฺฑ : ก. วิ. (แตก) เป็นท่อนน้อยท่อนใหญ่
โผฏ : (วิ.) นูน, บวม, ฟกช้ำ, แตก. ผุฏฺ อนฺนตสํสิเลสนเภทเนสุ, โณ.
ปาติต : ค. ตกไปแล้ว, แตกทำลายแล้ว
กฐล : นป. กระเบื้อง, เศษหม้อแตก, กรวด
กณฺณชปน : (นปุ.) การพูดที่หู, การกระซิบที่หู (การทำให้เขาแตกกัน). กณฺณ+ชปฺ ธาตุ ยุ ปัจ.
กมฺมวิเสส : ป. ความวิเศษแห่งกรรม, ความแตกต่างแห่งกรรม
กมฺมโวสฺสคฺค : ป. ความแตกต่างแห่งกรรม, การจำแนกแห่งกรรม
กุตูหล : ป., นป. ความโกลาหล, ความแตกตื่น, ความตื่นเต้น
กุตูหล กุตุหฬ โกตูหล โกตูหฬ : (นปุ.) การตื่น, การตื่นข่าว, ความแตกตื่น, ความเอกเกริก. วิ. กุ ปาปํ ตุลยตีติ กุตูหลํ. กุปุพฺโพ, ตุลฺ อุมฺมาเณ, อ. หฺ อาคมกลาง ธาตุ. เวสฯ วิ. กุ ปาหํ โตชตีติ กุตูหลํ. กุปุพฺโพ, ตุชฺ หึสายํ, อโล แปลง ช เป็น ห. เป็น กุตุหล กุโตหล โดยไม่ทีฆะ บ้าง.
โกฏฏ : ค. ถูกทุบ, ถูกฟาด, ซึ่งแตกออก
โกตุหล โกตูหล โกตูหฬ : (วิ.) แตกตื่น, ตื่นข่าว, เอิกเกริก.
โกลาหล : (วิ.) เอิกเกริก, กระฉ่อน, กึกก้อง, วุ่นวาย, เซ็งแซ่, ชุลมุน, สับสน, แตกตื่น, อลหม่าน.
ขณฺฑติ : ก. แตก, หัก
ขณฺฑาขณฺฑิก : ค. (ของที่แตก) เป็นท่อนน้อยท่อนใหญ่, แตกออกเป็นชิ้น
ขณฺเฑติ : ก. ทำให้แตก, ทำลาย, ละเมิด, สละ, เลิก
ขารก : (ปุ.) ดอกไม้เพิ่งผลิ, ดอกไม้เพิ่งจะ แตกออก. ขรฺ วินาเส, ณฺวุ.
ฉนฺทนานตฺต : นป. ความแตกต่างกันแห่งความพอใจหรือปรารถนา
ฉิท : ค. ผู้ตัด, ผู้ทำให้แตก, ผู้ทำลาย, (นิยมใช้ในคำสมาส เช่น พนฺธนจฺฉิท = ผู้ตัดเครื่องผูก)
ฉิทฺทการี : ค. ผู้ไม่ลงรอยกัน, ขัดกัน, แตกร้าวกัน
ฉิทฺทตา : อิต. ความเป็นคือรอยแตกหรือช่อง, รอยแตก, ช่อง, รู
ฉิทฺทาวจฺฉิทฺทก : ค. มีรอยแตกและรู, มีช่องน้อยช่องใหญ่
ฉิทฺทิต : ค. อันเขาตัดแล้ว, อันเขาทำแตกแล้ว, อันเขาฉีกแล้ว, อันเขาเจาะแล้ว
ชาติวิภงฺค : ป. ความแตกต่างกันแห่งชาติสกุล, ลักษณะพิเศษประจำชาติ
ชาติสมฺเภท : ป. ความแตกต่างแห่งชาติตระกูลหรือยศศักดิ์
เตลสงฺคุฬิกวาท : (ปุ.) วาทะว่า ขนมระคน ด้วยงา, วาทะว่าขนมแตกงา ( ขนมทำด้วย แป้งคลุกด้วยงา).
ทณฺฑ : (ปุ.) ทัณฑะ ( รุกรม ) ชื่ออุบายเอาชนะ อริราชศัตรูอย่างที่ ๒ ใน ๔ อย่าง ( อีก ๓ อย่างคือ เภทะ การทำให้แตกกัน สามะ การผูกไมตรี ทานะ การให้สินบน ). ทณฺฑฺ ทณฺฑนิปาตเน, อ. ทมุ ทมเน วา, โฑ. แปลง มฺ เป็น ณฺ ทฑิ อาณาปหรเณสุ, อ, นิคฺคหิตาคโม.
ทลติ : ก. แบ่งออก, แยกออก, แตกออก
ทาริต : ค. แตก, ทำลาย, แบ่ง, แยกออก
ทาลน : นป. การผ่า, การแยก, การเซาะ, การแตก, การพัง, การทำลาย
ทิณฺณ : ค. ซึ่งแตก, ซึ่งทำลาย, ซึ่งแยก, ซึ่งขาดสาย
นสฺส : (ปุ.) ความแตก, ความทำลาย, ความสูญ, ความหาย, ความหายไป, ความตาย. นสฺ อทสฺสเน, อ, สฺสํโยโค.
นสฺสธมฺม : (ปุ. นปุ.) สิ่งที่ต้องแตก,ฯลฯ.
นานาโคตฺต : ค. มีโคตรแตกต่างกัน, มีตระกูลต่างๆ กัน, มีเหล่ากอต่างๆ กัน
นานาจิตฺต : ค. มีจิตใจแตกต่างกัน, มีความคิดไม่เหมือนกัน
นิปฺปริยาย : ค. ไม่แตกต่าง, ไม่อ้อมค้อม, แน่ชัด, ตรงไปตรงมา, สิ้นเชิง
นิปฺผลิต : ค. ซึ่งแตก, ซึ่งทำลาย, ซึ่งแยกออก
นิพฺพิกปฺป : ป. ความเด่น, ความแตกต่าง