Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: แทน , then ทน, แทน .

ETipitaka Pali-Thai Dict : แทน, 185 found, display 1-50
  1. กากลี : (อิต.) เสียงเล็ก, เสียงเบา, เสียงเล็ก ที่สุด, เสียงเบาที่สุด. วี. อีสํ กลา วาณี กากลี. กา + กลา + อี ปัจ. วิ. ใช้ อีส แทน กา กา ศัพท์ มี สุขุม เป็น อรรถ.
  2. กุญฺจนาท : (ปุ.) เสียงร้องแห่งช้าง, เสียงบันลือ แห่งช้าง. วิ. คชานํ นาโท กุญฺจนาโท นาม. ใช้ คช แทน กุญฺจ. ดู โกญฺจนาท ด้วย.
  3. นวกฺขตฺต : (อัพ. นิบาต) สิ้นเก้าครั้ง, สิ้นเก้า คราว, สิ้นเห้าหน. นวศัพท์ กฺขตฺตํ ปัจ. ลงใน ทุติยาวิภัติ แทน วาร ศัพท์ กัจฯ รูปฯ และโมคฯ. ถ้าแปลเป็น กิริยาวิเสสนะ แปลว่า เก้าครั้ง เก้าคราว เก้าหน.
  4. ปรม : (วิ.) ยอด, ยอดเยี่ยม, ยอดยิ่ง, อย่างยิ่ง, อย่างเยี่ยม, อย่างยอด, เป็นยอด, สูงสุด, ที่สุด, สนิท, เต็มเปี่ยม, อุดม, บรม. วิ. นตฺถิ อญฺญ ปรํ เอตสฺมาติ ปรมํ. ม ปัจ. แทน นตฺถิ. ปรํ ปจฺจนีกํ มาเรตีติ ปรมํ. ปกฏฺฐภาเว รมตีติ วา ปรมํ. อถวา, ปรติ อตฺตโน อุตฺตมภาวํ ปาเลติ ปูเรติ วาติ ปรมํ. ปรฺปาลเน, โม. ลง อ ปัจ. ประจำ หมวดธาตุ แล้ว ลง ม ปัจ.
  5. สรูป : (นปุ.) รูปแห่งตน, รูปของตน. ส+รูป. รูปเหมือนกัน. สม+รูป. รูปอันมีอยู่, รูปมีอยู่. สภาวะ, ธรรมชาติ. สนฺต+รูป. แปลง สนฺต เป็น ส. ความสมควรแก่ภาวะของตน วิ. รูปสฺส ยถา สรูปํ. ส แทน ยถา. ไทย สรุป สรูป ใช้เป็นกริยาว่า รวมความมาย่อเอาแต่ประเด็นของเรื่อง ใช้เป็นนามในความว่า ประเด็นย่อ ๆ ของเรื่อง.
  6. สาคล : (นปุ.) สาคละ ชื่อนครพิเศษของอินเดียโบราณ. วิ. สานํ ธนานํ อุปฺปตติฎฺฐานํ สากโร. ส+อากร ใน วิ. ใช้ อุปฺปตฺติฎฺฐาน แทน. สากดร เอว สาคลํ. แปลง ก เป็น ค ร เป็น ล.
  7. อุปวน : (นปุ.) สวน, สวนใหญ่, สวนดอกไม้. วิ. อุปคตํ อุปโรปิตํ วา วนํ อุปวนํ. ป่า ใกล้, ป่าใกล้เคียง. วิ. สมีปํ วนํ อุปวนํ. วิ. ใช้ สมีป แทน อุป. ที่ใกล้แห่งป่า วิ. วนสฺส สมีปํ อุปวนํ. กลับบทหน้าไว้หลัง.
  8. กจวร : (ปุ.) หยากเยื่อ (เศษของที่ทิ้งแล้ว), มูล ฝอย, ขยะมูลฝอย. วิ. นานาวิเธ สํกาเร ราสีกรณวเสน กจตีติ กโจ. กจฺ พนฺธเน, อ. กโจ เอตฺถ อิจฺฉิตพฺโพติ กจวโร. วรฺ อิจฺฉายํ, อ. วิ. ใช้ อิสฺ ธาตุแทน.
  9. เกตุ : (ปุ.) ลักษณะ, ธง. วิ. กิตฺติ อปเนติ เอเตนาติ เกตุ. กิตฺ นิวาเส, อุ กิตติ อุทฺธํ คจฺฉ ติ อุปริ นิวสตีติ วา เกตุ. กัจฯ๖๗๑ รูปฯ ๖๖๕ วิ อุทฺธํ คจฺฉติ ปวตฺตตีติ เกตุ. กิคติยํ. ตุ, อิสฺเส. ใน วิ. ใช้ คมฺธาตุแทน. สฺ เกตุ.
  10. คภีร คมฺภีร : (วิ.) ลึก, ซึ้ง, ลึกซึ้ง, สุขุม. คมฺ คติยํ, อีโร. มฺโลโป, โภ สมฺโพเธ. ศัพท์ หลังคง มฺ ไว้. คจฺฉนฺตา ภายนฺติ อสฺมินฺติ คภีโร. โค วุจฺจติ ปฐวี, ตํ ภินฺทิตฺวา คจฺฉติ ปวตฺตตีติ วา. คมฺภีโร. ค ภิทิ ปุพฺโพ, อรฺ คมเน, อ, นิคฺคหิตาคโม. แปลงนิคคหิต เป็น มฺ ลบ ทิ ทีฆะ อิ เป็น อี ใน วิ. ใช้ คมฺธาตุแทน. ส. คภฺภีร.
  11. ฉณ : (ปุ.) การรื่นเริงเป็นที่ตัดเสียซึ่งความโศก, มหรสพ,มโหรสพ. วิ. ฉินฺทติ โสก เมตฺถาติ ฉโณ. ฉิ เฉพฺน, ยุ, อิสฺสตฺตํ. ใน วิ. ใช้ ฉิทฺ ธาตุแทน เป็น ฉณฺณ บ้าง.
  12. ตทฺธิต : (นปุ.) ตัทธิต ชื่อบาลีไวยากรณ์แผนก หนึ่ง ลงปัจ. ไว้ที่ศัพท์หน้าแทนศัพท์หลัง ที่ลบ เพื่อทำคำพูดให้สั้นลง วิ. ตสฺส อตฺสฺส หิตํ ตทฺธิตํ (ปจฺจยชาตํ) แปลว่า ปัจจัยเป็นประโยชน์เกื้อกูลแก่เนื้อความนั้น. เป็น ฉ.ตัป. แปลง ห เป็น ธ ซ้อน ทฺ.
  13. ตนุ : (อิต.) กาย, ร่างกาย, ตน, หนัง. วิ.ตโนติ สํสารทุกฺขนฺติ ตนุ. ตนุ วิตถาเร, อุ. รูปฯ ๖๓๕ ลง ณุ ปัจ. ไม่ทีฆะ. ไทยใช้ ดนุ เป็นสัพพนามแทนผู้พูด. ฉันข้าพเจ้าฯลฯ.
  14. ทูต : (ปุ.) บุคคลผู้อัน..ส่งไป, คนนำข่าว, ทูต (ผู้นำข่าวสารไปบอก ผู้นำข้อความไป แจ้งทั้งสองฝ่าย ผู้รับใช้ไปเจรจาแทน). วิ. โย เปสียเต โส ทูโด. ทุ คมเน, โต, ทีโฆ. ส. ทูต.
  15. ธนทญฺฑ : (ปุ.) การปรับไหม (ให้ผู้ทำผิดชำระเงินแทนการทำความผิดแก่ผู้เสียหาย). ส. ธนทณุฑ
  16. นกุล : (ปุ.) พังพอน วิ. นตฺถิ กุลํ เอตสฺส สปุเปลูติ นกุโล. น+กุล. สปฺเป นาเสตีติ วา นกุโล. นกฺกฺ นาสเน. อุโล, กฺโลโป. ใน วิ, ใช้ นสฺ ธาตุแทน. ส. นกุล.
  17. นิโยชิต : ค. ผู้แทน, ผู้ถูกส่งไป
  18. ปริตฺต : (วิ.) น้อย, เล็ก, เล็กน้อย, นิดหน่อย, ต่ำ. วิ. ปริโต อตฺตํ ขณฺฑิตํ ปริตฺตํ. ปริโต อวขณฺฑตีติ วา ปริตฺตํ. ปริปุพฺโพ, ทา อวขณฺฑเน, โต, ทสฺสโต, รูปวิ. ใช้ อว+ ขฑิ ธาตุแทน.
  19. ปหิณคมน : นป. การไปในนามผู้สื่อข่าวหรือส่งข่าว, การไปในฐานะผู้แทน
  20. พุทฺธรูป : (นปุ.) รูปของพระพุทธเจ้า, รูปที่ช่างทำขึ้นแทนองค์พระพุทธเจ้า.
  21. มาฆฺย : (นปุ.) คล้า ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง ลำต้นและใบคล้ายข่า ผิวคล้ายหวาย จักผิวเอามาใช้เย็บจากแทนหวาย ผู้กสิ่งของหรือสานเป็นเสื่อ. วิ. มาเฆ ภวํ มาฆฺยํ. ณฺย ปัจ. ตาเสือ ต้นตาเสือ ก็แปล.
  22. สพฺพนาม : (ปุ.) ชื่อทั้งปวง, สัพพนาม สรรพนามชื่อคำนามประเภทหนึ่งสำหรับใช้แทนชื่อคนและสิ่งของที่ออกชื่อมาแล้ว.
  23. สิสฺส : (ปุ.) นักเรียน, ศิษย์. วิ. โสตุ ํ อิจฺฉตีติ สิสฺโส (ผู้ปรารถนา ผู้ต้องการเพื่ออันฟัง). สิสฺ อิจฺยํ, โส. ใน วิ. ใช้ อิสฺ ธาตุแทน. สุณาตีติ วา สิสฺโส. สุ สวเน, อิสฺสปจฺจโย. สาสิตพฺโพติ วา สิสฺโส. สุ สวเน, อิสฺสปจฺจโย. สาสิตพฺโพติ วา สิสฺโส. สาสฺ อนุสิฎฐยํ, โณย. แปลง อา เป็น อิ. สฺย เป็น สฺส หรือแปลง ย เป็น ส โมคฯลง ยกฺ ปัจ. แปลง สาสฺ เป็น สิสฺ ลบ กฺ แปลง ย เป็น ส. ส. ศิษย์.
  24. อกฺขร : (ปุ. นปุ.) คำ, เสียง, ตัวหนังสือ, อักขระ, อักษร (เสียงและตัวหนึ่ง สระและพยัญชนะ). อักขระแปลว่า ไม่รู้จักสิ้นอย่าง ๑ ไม่เป็นของแข็งอย่าง ๑ คือใช้แทนคำพูดเท่าไร ๆ ก็ไม่รู้จักสิ้น และไม่เป็นของแข็งใช้แทนเสียคำพูดนั้น ๆได้เป็นอักขระของชาติใด ภาษาใด ก็ใช้ได้เหมาะสมแก่ชาตินั้นภาษานั้น.วิ. นขรติ น ขียตีติ อกฺขโร. นกฺขรนฺติ นกฺขียนฺตีติ วา อกขรานิ. นปุพฺโพ, ขรฺ วินาเส, อ.ขี ขเย วา อโร. อิโลโป, กฺสํโยโค.ใช้เป็นอิต. โดยความเป็นลิงควิปลาสบ้าง. ส.อกฺษร.
  25. อคฺคราชฑูต : (ปุ.) อัครราชฑูต ชื่อผู้แทนพระเจ้าแผ่นดินผู้เลิศ ซึ่งประจำชั่วคราวหรือ ประจำอยู่ในสำนักแห่งรัฐบาลอื่น มีฐานะสูงกว่าราชฑูต.
  26. อตฺตภาว : (ปุ.) ขันธปัญจกเป็นแดนเกิดแห่งอัสมิมานะว่าอันว่าตน, กายอันเป็นแดนเกิดแห่งนนามว่าอันว่าตน, ความเป็นแห่งตน, กาย, ร่างกาย, รูป, อัตภาพ (ลักษณะความเป็นตัวตน), อาตมภาพ (อาดตะมะภาพ)เป็นคำพูดแทนตัวพระสงฆ์ซึ่งใช้พูดกับผู้มีศักดิ์, อาตมา (อาดตะมา)เป็นคำแทนตัวพระสงฆ์ตรงกับคำว่าฉันข้าพเจ้าใช้พูดกับคนทั่วไปทั้งชายและหญิง. ส. อาตฺมภาว.
  27. อนุช : (ปุ.) ชนผู้เกิดในภายหลัง, น้อง, น้องชายวิ.อนุ ปจฺฉาชาโต อนุโช. อนุปุพฺโพ, ชนฺ ชนเน, กฺวิ. รูปฯ ๕๗๐ ใช้ ปจฺฉาแทนอนุ.วิ.ปจฺฉาชาโต อนุโช.ในคำประพันธ์ไทยตัดอออกเป็นนุช (นุต)ใช้ในความหมายว่าน้องน้องสาว หรือหญิงคู่รัก.ส. อนุช.
  28. อมฺห : (ปุ. อิต.) ฉัน, ข้า, กู, ฯลฯ.คำแทนตัวภิกษุแปลว่าอาตมภาพ, อาตมา, รุป.ลูกพูดกับพ่อแม่แปลว่าลูก, หนู.หญิงพูดกับคนใกล้ชิดหรือคุ้นเคยหรือ คนรักแปลว่าหนูชายพูดกับหญิงที่รักแปลว่าเรียม, พี่. อมฺหศัพท์เป็นคำแทนตัวผู้พูดบาลีไวยากรณ์เป็นบุรุษที่๓ไวยากรณ์ไทยเป็นบุรุษที่๑.
  29. อวมานอวมานน : (นปุ.) การดูหมิ่น, การดูถูกการดูแคลน, การไม่เห็นแก่หน้ากัน, ความดูหมิ่น ฯลฯ, วิ. เหฏฺฐากตฺวาชานนํอวมานนํวา.อวปุพฺโพ, มนฺญาเณ, โณ, ยุ.ในวิ. ใช้ชานนแทนมน.ส.อวมาน.
  30. อิตฺถี : (อิต.) นาง (คำใช้แทนหญิง), ภรรยา, ภริยา. อุ. ภตฺตา ปญฺญาณมิตฺถิยา. ภัสดา เป็นเครื่องปรากฏแห่งภรรยา.
  31. อุณฺณภิสี : (อิต.) ฟูกขนสัตว์ ใช้ขนสัตว์ แทนนุ่น.
  32. อุทฺเทสิกเจติย : (นปุ.) อุทเทสิกเจดีย์ เจดีย์ที่ สร้างขึ้นโดยเจตนาให้เป็นปูชนียวัตถุแทน องค์พระพุทธเจ้า เช่น พระพุทธรูป.
  33. อุปราช : (ปุ.) พระราชารอง (รองจากพระเจ้าแผ่นดิน), อุปราช คือผู้สำเร็จราชการแทนพระเจ้าแผ่นดิน ในส่วนหนึ่ง ๆ ของ พระราชอาณาจักร.
  34. กฺลทน : (นปุ.) ความชื้น, ความชุ่ม, ความเปียก, ความซึม, ความเยิ้ม. กฺลทฺ อลฺลภาเว, ยุ. ส. กฺลทน.
  35. จนฺทน : (ปุ. นปุ.) จันทน์ชื่อต้นไม้มีดอกผล และแก่นมีกลิ่นหอม, ต้นจันทน์, ไม้จันทน์, แก่นจันทน์. วิ. จนฺทยติ สีตคุณสมงฺคิตาย สตฺตานํ ปริฬาหํ วูปสเมนฺตํ สุขํ อุปฺปาเทตีติ จนฺทนํ. จทิ หิาทเน, ยุ. ส. จนฺทน.
  36. โตทน : (นปุ.) การเบียดเบียน, การรบกวน, การทิ่มแทง, ความเบียดเบียน, ฯลฯ, ความเจ็บ, ปฏัก.ตุทฺ พฺยถเน, ยุ. ส.โตทน.
  37. ทีน : (วิ.) จน, ยากจน, เข็ญใจ, ยากไร้, ไร้ทรัพย์. ตกยาก. ที ขเย, อีโน. ทีนฺ ทุคฺคตภาเ, อ. ส. ทีน.
  38. นิมฺมทฺทน : นป. ดู นิมฺมทน
  39. ปนูทน : (นปุ.) การบรรเทา, การเคลื่อน, การถอนออก, ความบรรเทา, ฯลฯ, ยุ ปัจ. เป็น ปนุทน โดยไม่ทีฆะบ้าง.
  40. อินฺทน : (นปุ.) ฟืน. เอธฺ วุฑฺฒิยํ, ยุ. แปลง เอ เป็น อิ แปลง ธ เป็น ท. นิคคหิตอาคม. อินฺทน
  41. กนฺทน : นป. การร้องไห้, การคร่ำครวญ
  42. กมฺมนิปฺผาทน : นป. การทำงานให้เสร็จ
  43. กสทน : ป. ปรอท
  44. กายวิปฺผนฺทน : นป. ความดิ้นรนทางกาย, ความไหวกาย
  45. ขาทน : (นปุ.) การกัด, การกิน, การกัดกิน, การเคี้ยวกิน. ขาทฺ ภกฺขเณ, ยุ.
  46. คนฺธมาทน : (ปุ.) คันธมาทน์ ชื่อภูเขา เป็น ยอดของทิวเขาหิมาลัย ยอดที่ ๑ ใน ๖ ยอด, ภูเขายาหอม, ภูเขาอันยังสัตว์ผู้ถึง พร้อมให้เมาด้วยกลิ่น. วิ. อตฺตนิ สญฺชาต- คนฺธพฺพานํ คนฺเธหิ มทยติ โมทยตีติ วา คนฺธมาทโน. คนฺธปุพฺโพ, มทฺ อุมฺมาเท, ยุ. อรรถกถาสัมภวชาดก ติงสนิบาต วิ. สมฺปตฺตํ ชนํ คนฺเธน มทยตีติ คนฺธมาทโน. เวสฯ ๕๑๑.
  47. คุโฬทน : (ปุ.) ข้าวสุกผสมด้วยน้ำตาลอ้อย วิ. คุเฬน สํสฏฺโฐ โอทโน คุโฬทโน.
  48. โคสีตจนฺทน : (นปุ.) จันทร์เย็นเหมือนน้ำ วิ. โค วิย อุทกํ วิย สีตํ จนฺทนนฺติ โคสีตจนฺทนํ.
  49. จนฺท จนฺทน : (นปุ.) ความสบายใจ, ความสุขใจ
  50. จนฺทนคนฺธี : ค. มีกลิ่นแห่งไม้จันทน์, มีกลิ่นดุจไม้จันทน์
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-185

(0.0618 sec)