เวที : อิต. ผู้รู้; นักปราชญ์; ชานชาลา, แท่นบูชา
จิตฺติกโรติ, - ตีกโรติ : ก. กระทำความยำเกรง, เคารพยกย่อง, บูชา
ปณมติ : ก. น้อมกายลงแสดงความเคารพ, นอบน้อม, เคารพ, บูชา, โค้ง, งอ
ปวีนติ : ก. เคารพ, บูชา, ยกย่อง, ให้เกียรติ
มหติ : ก. นับถือ, บูชา
มาเนติ : ก. นับถือ, เคารพ, บูชา
อปจายิต : กิต. เคารพ, บูชา, นับถือ
อปจินาติ : ก. เคารพ, บูชา, สังเกต, เฝ้าดู, ทำลาย, ขจัด
อรห : (วิ.) ควร, สมควร, บูชา, เคราพ, นับถือ.อรหฺปูชายํ, อ.ส.อรฺห.
ปูชนา ปูชา : (อิต.) การยกย่อง, การนับถือ, การต้อนรับ, การบูชา, ความยกย่อง, ฯลฯ. คำ บูชา ไทยใช้เป็นกิริยาในความว่าให้ด้วยความนับถือ.
ปูเชติ : ก. บูชา
มาฬก : (ปุ.) พลับพลา, ปะรำ, โรงพิธี, แท่น.
อญฺจติ : ก. ๑. ถึงความพินาศ
๒. บูชา
อาสาฬฺหปูชา : (อิต.) การบูชาในเดือนแปด วิ. อาสาฬฺหสฺมึ ปูชา อาสาฬฺหปูชา. การบูชาในวันกลางเดือนแปด วิ. อาสาฬฺห- ปุณฺณมาย ปูชา อาสาฬฺหปูชา. การบูชาเพื่อระลึกถึงเหตุพิเศษ (สำคัญ) ของ พระพุทธศาสนาอันเกิดขึ้นในวันกลาง เดือนแปด. วิ. อาสาฬฺหปุณฺณมาย อุปฺปนฺนสฺส พุทฺธสาสนวิเสสการณสฺส อนุสฺสรณสฺส ปูชา อาสาฬฺหปูชา. วัน อาสาฬหบูชา เป็นวันสำคัญของชาวพุทธ มีการทำบุญตักบาตร ฟังเทศน์และเวียน เทียน เดินปทักษิณปูชนียวัตถุ ปูชนียสถาน สามรอบ ตรงกับวันกลางเดือน ๘ ถ้าปีใด มีอธิกามาส ก็ตรงกับวันกลางเดือน ๘ หลัง มีความสำคัญคือ เป็นวันที่พระพุทธองค์ ทรงแสดงปฐมเทศนา คือธัมมจักกัปป- วัตตนสูตร โปรดพระปัญจวัคคีย์ ที่ป่าอิสิป ตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี นับ แต่ตรัสรู้แล้วได้ ๖๐ วัน เป็นวันที่จักร (ล้อ) คือธรรมได้หมุนไปในโลก เป็นวันที่ พระอริยสงฆ์เกิดขึ้นเป็นองค์แรกเป็นวันที่ รัตนะมีครบ ๓ เป็นพระรัตนตรัย.
มญฺจ มญฺจก : (ปุ.) แท่น, แคร่, เตียง, ที่นอน. วิ. มญฺจติ ปุคฺคลํ ธาเรตีติ มญฺโจ มญฺจโก วา. มจิ ธารเณ, อ. ศัพท์หลัง ก สกัด.
อชฺชนี : (อิต.?)แท่น, แคร่นั่ง.
โพธิปูชา : อิต. การบูชาต้นโพธิ
กณโหม : นป. การเผารำบูชา, การทำพิธีซัดรำบูชาไฟ
กตุ : (ปุ.) การบูชา, การบูชายัญ, ยัญ. วิ. สคฺคตฺถิเกหิ กรียตีติ กตุ (อันคนผู้ต้องการสวรรค์ทำ). กรฺ กรเณ, ตุ. กตฺตก
กมฺพลสิลาสน : นป. กัมพลศิลาอาสน์, แท่นหินที่ปูลาดด้วยผ้ากัมพลใช้เป็นที่ประทับของท้าวสักกะ
คาหปจฺจ : (ปุ.) คาหปัจจะ ชื่อไฟอย่างหนึ่ง, ไฟอันประกอบด้วยพ่อเจ้าเรือน วิ. คหปตินา สํยุตฺโต อคฺคิ คาหปจฺโจ. ไฟอัน ควรบูชาคือ พ่อเจ้าเรือน. คหปติ ศัพท์ ณ ปัจ. ราคาทิตัท. แปลง ปติ เป็น ปจฺจ.
คุรุทกฺขิณา : อิต. การทำทักษิณาให้แก่ครู, การบูชาครู
จิตฺติ : (อิต.) การบูชา, ความเคารพ, ความยำ เกรง. จิตฺ ปูชายํ, ติ.
เจติยงฺคณสมฺมชฺชนคนฺธมาลาทิกิจฺจ : (นปุ.) กิจ มีอันกวาดซึ่งลานแห่งเจดีย์และอันบูชาด้วย วัตถุมีของหอมและระเบียบเป็นต้น เป็น วิเสสนบุพ. กัม. มี ฉ. ตัป., ส. ทวัน., ฉ. ตุล., ฉ. ตัป., ส. ทวัน,และฉ.ตุล.เป็นภายใน
ชีร : (นปุ.) มีดสำหรับใช้เครื่องบูชา, เมล็ด ผักชี, เมล็ดยี่หร่า. ส. ชีร.
ชุหติ : ก. เทลงไปในไฟ, บูชาไฟ, อุทิศให้
ชุหน : (นปุ.) การบูชา, เครื่องบูชา. หู หพฺย – ทาเน, ยุ. เทวภาวะ หู รัสสะ แปลง หุ เป็น ชุ ลบ อู ที่ตัวธาตุ.
ชุหวติ, ชุหาติ : ก. บูชา, บูชายัญ
ถุสโหม : นป. พิธีซัดแกลบบูชาไฟ, การเซ่นสรวงด้วยแกลบ
ถูปารห : ค. ผู้ควรแก่สถูป, ผู้สมควรแก่การที่ประชาชนจะสร้างสถูปไว้บูชา
ทตฺติ : (อิต.) อันให้, การให้, เครื่องบูชา. ทา ธาตุ ติ ปัจ. รัสสะ แปลง ติ เป็น ตฺติ หรือ ซ้อน ตฺ หรือลง ตฺติ ปัจ. ส. ทตฺติ.
ทพฺพิโหม : นป. การบูชาไฟโดยใช้ทัพพีตักของเทลงในไฟ, พิธีเบิกแว่นเวียนเทียน
ทิกฺขา : (อิต.) การบูชา, การเซ่นสรวง. ทิกฺข ธาตุในความบูชา ฯลฯ, อ ปัจ. อา อิต.
ธูป : (ปุ.) ธูป เครื่องหอมสำหรับจุดเอาควันลม เครื่องหอมสำหรับจุดบูชา. ธูปฺ สนฺตาเป, อ. ส. ธูป.
นาฏฺย : (นปุ.) การเต้น, การรำ, การเต้นรำ, การฟ้อน, การฟ้อนรำ, การแสดงละคร, การขับ, การขับร้อง, การประโคม (คือ การบรรเลงดนตรี เพื่อสักการบูชาหรือ ยกย่อง), การประโคมดนตรี, การดีดสีตี เป่า. นฏฺ นตฺยํ, โณฺย. นจฺจํ วาทิตํ คีตํ อิติ อิทํ ตุริยติกํ นาฏยนาเมนุจฺจเต. อภิฯ.
ปฏิปูชน : นป., - ชนา อิต. การบูชาตอบ, ความเคารพนับถือ, การยกย่อง
ปฏิปูเชติ : ก. บูชาตอบ, เคารพนับถือ, ยกย่อง
ปณฺฑุกมฺพลสิลาสน : นป. แท่นศิลาที่มีสีเหมือนผ้ากัมพล, ชื่อแท่นที่ประทับนั่งของพระอินทร์
ปตฺตมาฬก : ป. แท่นเก็บบาตร, เชิงบาตร
ปยิรุปาสน : นป., - สนา อิต. การเข้าไปนั่งใกล้, การเข้าไปคอยรับใช้, การคบหา, การเคารพนับถือ, การบูชา
ปยิรุปาสิก : ค. ผู้เข้าไปนั่งใกล้, ผู้คอยรับใช้, ผู้คบหา, ผู้บูชา
ปยิรุปาสิต : กิต. (อันเขา) เข้าไปนั่งใกล้แล้ว, ปรนนิบัติแล้ว, เคารพบูชาแล้ว
ปลฺลงฺก : ป. บัลลังก์, แท่นนั่งขัดสมาธิ
ปุชฺช : ค. น่าเคารพ, น่านับถือ, น่าบูชา
ปุพฺพเปตพลิ : (ปุ.) การบูชาแก่ญาติผู้ละไปแล้วก่อน, การบูชาแก่ญาติผู้ตายไปก่อน, เครื่องบูชาอันบุคคลทำให้ แก่ผู้ละโลกไปแล้วก่อน, เครื่องเซ่นสรวงที่กระทำให้แก่ผู้ตายไปก่อน, บุญกุศลที่อุทิศให้แก่ญาติผู้ตายไปก่อน.
ปุริสเมธ : (ปุ.) ปุริสเมธะ ชื่อมหายาคะ (การบูชาใหญ่ การบวงสรวงใหญ่ยัญใหญ่), มหายัญชื่อปุริสเมธะ.
ปูชก : (วิ.) ผู้บูชา. ปูชฺ ปูชายํ, ณฺวฺ.
ปูชนา : อิต. การบูชา
ปูชนีย ปูชเนยฺย : (วิ.) ผู้ควรซึ่งอันบูชา, ฯลฯ, ควรบูชา, ควรนับถือ, น่าบูชา, น่านับถือ. วิ. ปูชนํ อรหตีติ ปูชนีโย ปูชเนยฺโย วา. อีย, เอยฺย ปัจ.