กฏกฏายติ : ก. กด, บด, บีบ, ลับ; ประพฤติเสียงดังกฏะกฏะ
โกฏเฏติ : ก. ทุบ, ฟาด, บด, ขยี้, โขลก, ตำ, ตี
ฆสติ : ก. ขัด, สี, ถู, บด; ยินดี, ชอบใจ, ร่าเริง
นิปฺโผเฏติ : ก. ตี, โบย, ทุบ, ต่อย, บด, ขยี้, ทำลาย
นิมฺมาเทติ : ก. ขยี้, กด, บีบ, บด; ลบหลู่; เอาออก
ปุณฺฑติ : ก. ถู, ขูด, ขัด, บด
สญฺจุณฺเณติ : ก.ขยี้, ทำลาย, บด
อุคฺฆเสติ : ก. ถู, บด, ขัด, สี
อฏฺฐก : (วิ.) แปด.กสกัด, มีปริมาณแปดวิ. อฏฺฐ ปริมาณานิ อสฺสาติ อฏฺฐกํ.กปัจสังขยาตัท.
อฏฺฐงฺค : (นปุ.) ส่วนแปด (แปดส่วน), ชั้น แปด (แปดชั้น), องค์แปด (แปดองค์).
อฏฺฐารส : (ไตรลิงค์) สิบยิ่งด้วยแปด, สิบ แปด. อฏฺฐ+อุตฺตร+ทส ลบ อุตฺตร แปลง ท เป็น ร ฑีฆะ.
อฏฺฐาวุธ : (นปุ.) อาวุธแปด อัษฎาวุธ อาวุธ แปด คือ พระแสงหอกเพชรรัตน์ พระ แสงดาบเชลย พระแสงตรี พระแสงดาบ และเขน หรือ พระแสงดาบและโล่ พระ แสงธนู พระแสงของ้าวแสนพลพ่าย และพระแสงปืนคาบชุดข้ามแม่น้ำสะ โตง.
ฆสน : นป. การขัด, การสี, การถู, การบด
จตุราสีติ : ค. แปดสิบสี่
จตุราสีติโยชนสตสหสฺสุพฺเพธ : (วิ.) มีแสนแห่ง โยชน์แปดสิบสี่เป็นส่วนสูง, สูงแปดสิบสี่ แสนโยชน์, สูงแปดโกฏิสี่แสนโยชน์.
จตุราสีติโยชนสหสฺสคมฺภีร : (วิ.) อันลึกสิ้นพ้น แห่งโยชน์แปดสิบสี่, มีพันแห่งโยชน์แปด สิบสี่เป็นส่วนลึก, ลึกแปดหมื่นสี่พันโยชน์. เป็น ฉ. ตุล มี ฉ.ตัป และ ส.ทิคู. เป็น ท้อง มีลึกมีพันแห่งโยชน์แปดสิบสี่เป็น ประมาณ ตั้ง วิ. เพิ่ม ฉ.ตุล ต่อจาก ส.ทิคุ อีก ๑ สมาส.
จตุราสีติสหสฺส : (นปุ.) พันแปดสิบสี่เป็นประ มาณ, พันแปดสิบสี่, แปดหมื่นสี่พัน.
จมร, - มรี : ป. จามรี, ชื่อเนื้อทรายมีขนอ่อนละเอียด หางยาวเป็นพู่สัตว์บดเอื้องอยู่ในจำพวกโค
จุณฺณิต : กิต. (อันเขา) บด, ขยี้, ทำให้แหลก, ทำให้ละเอียดแล้ว
จุณฺเณติ : ก. บด, ขยี้, ทำให้แหลก, ทำให้ละเอียด
จูฬาสีติ : ค. แปดสิบสี่
เตอสีติ (ตฺยาสีติ) : ค. (อิต.) แปดสิบสาม
ทุติยาสาฬฺห : (ปุ. อิต.) เดือนแปดที่สอง, เดือนแปดหลัง.
เทฺวจตุรงฺค : ค. ซึ่งมีองค์สี่สองหน, ซึ่งมีองค์แปด, มีแปดส่วน
เทฺวสีติโกฏิธน : (นปุ.) ทรัพย์มีโกฏิแปดสิบสองประมาณ, ทรัพย์ประมาณแปดสิบสองโกฏิ, ทรัพย์แปดสิบสองโกฏิ.
เทฺวอสีติญาติกุลสหสฺส : (นปุ.) พันแห่งตระกูลแห่งพระญาติแปดสิบสองหน (แสนหกหมื่นตระกูล). เป็น อ. ทิคุ มี ฉ. ตัป., ฉ. ตัป. ผละ อ. ทิคุ เป็น ภายใน.
นิปฺโปฐน : นป. การตี, การโบย, การบด, การกด, การขยี้, การทำลาย
นิสท : ป. หินบด, หินลับมีด
นิสทโปต, -ก : ป. ลูกหินบด
ปญฺจาสีติ : ค. แปดสิบห้า
ปตาปน : ป. ชื่อนรกในจำพวกนรกใหญ่ทั้งแปดขุม
ปิส : ค. บดแล้ว, สีแล้ว, ขยำแล้ว
ปิสติ, (ปึสติ) : ก. บด, ขยำ, คั้น
ปิสน, (ปึสน) : นป. การบด, การขยำ, การทำลาย
ปิสิต : ๑. นป. เนื้อ ;
๒. ค. อันเขาบด, อันเขาขยำ, อันเขาทำลายแล้ว
ปึสติ : ก. บด, สี, ขยำ
ปุพฺพาสาฬฺห ปุพฺพาสาฬฺหมาส : (ปุ.) เดือนประกอบด้วยอาสาฬหฤกษ์เบื้อง ต้น, เดือนแปดแรก, เดือนแปดก่อน, เดือนแปดต้น.
เปรณ : (นปุ.?) อันบด, อันขยี้, อันย่ำ, อันทำให้ละเอียด, การบด,ฯลฯ. ปิสฺจุณฺณเน, ยุ. แปลง ส เป็น ร อิ เป็น เอ.
เปสุญฺญ : (นปุ.) ความเป็นแห่งวาจาอันบดเสียซึ่งประโยชน์. ปิสุณ หรือ ปิสุน+ณฺย ปัจ. ภาวตัท. วิการ อิ เป็น เอ แปลง ณฺย (คือ ณ ที่สุดศัพท์เมื่อลบ อ แล้วกับ ย ปัจ. เมื่อลบ ณฺ แล้ว) เป็นญฺญ หรือ นฺย (คือที่สุดศัพท์เช่นกัน) เป็น ญฺญ.
โปถน : (นปุ.) อันโปย, อันตี, อันทุบ, อันบด, อันขยี้, การโบย, ฯลฯ. โปถฺ ปริยา-ปนภาเว, ยุ.
มทฺทน : (นปุ.) การนวด, การย่ำยี, การบด, การทำลาย. ยุ ปัจ.
มิค : (ปุ.) เนื้อ ชื่อของสัตว์ป่า มีกวาง อีเก้ง เป็นต้น ปศุ สัตว์เลี้ยง สัตว์ของเลี้ยง จามจุรี จามรี สองคำนี้เป็นชื่อของเนื้อทราย มีขนละเอียดหางยาวเป็นพู่เป็นสัตว์บดเอื้องอยู่ในจำพวกโค. วิ. มียติ มํสํ ขาทิตุกามิเคหิ จาติ มิโค. มิ หึสายํ, โค. อิโต จิโต จ โคจรํ มเคตีติ วา มิโค. มคฺ อเนฺวสเน, อ. แปลง อ ที่ ม เป็น อิ. มคฺคียติ มํสาทิอตฺถิเกหิ ลุทฺเทหีติ วา มิโค. มคฺคฺ คเวสเน, อ. ลบ ค. สังโยค. หรือตั้ง มรฺ ปาณจาเค, อ, รสฺส โค, อิตฺตญฺจ.
วิจุณฺเณติ : ก. บดให้ละเอียด, ทำลาย
สงฺขาทติ : ก. เคี้ยว, บดอาหาร
สณฺเหติ : ก. บด, ลับ, ขัด
เสตปณฺณิ :
(อิต.) ไม้หมากลิง ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง มีต้นและผลคล้ายหมาก, มะดูก ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง ผลขนาดไข่ไก่ กินได้, มะลื่น ต้นกระบก ตระบด ก็เรียก. ดู เสปณฺณิ ด้วย.
อฎฺฐปาน : (นปุ.) น้ำดื่มแปดอย่าง, น้ำ สำหรับดื่มแปดอย่าง, เครื่องดื่มแปด อย่าง.
อฎฺปาน : (นปุ.) น้ำดื่มแปดอย่าง, น้ำสำหรับดื่มแปดอย่าง, เครื่องดื่มแปดอย่าง.
อฏฺฐก : (ปุ.) ประชุมแห่งชนแปด, ประชุม แห่งวัตถุแปด. วิ. อฏฺฐนฺนํ สมูโห อฏฺฐ โก. กณฺ ปัจ. สมุหตัท.
อฏฺฐงฺค : (นปุ.) ส่วนแปด(แปดส่วน), ชั้นแปด(แปดชั้น), องค์แปด(แปดองค์).