เทส : (ปุ.) ประเทศ, บ้านเมือง, ถิ่น, ที่, ถิ่นที่, ท้องที่, ตำบล, จังหวัด, ชาวเมือง, การแสดง. ทิสฺ อคิสฺชฺชนปกาสอุจฺจารเณสุ, โณ. ส. เทศ.
จิตฺต จิตฺร : (วิ.) ไพเราะ, งาม, งดงาม, สวยงาม, ตระการ, ประหลาด, แปลก, หลากสี, หลายสี, เรื่อเรือง เรืองรอง, ด่าง, พร้อย, ดำมอๆ, วิจิต, วิจิตร. จิตฺตฺ จิตฺติกรเณ, อ. ส. จิตฺร.
อุตฺตริ : (วิ.) ยิ่ง, ยอดเยี่ยม, ชั้นเยี่ยม, แปลก, มากขึ้น, อุตริ. คำ อุตริ ที่นำมาใช้ใน ภาษาไทยออกเสียงว่า อุดตะหริ ใช้ใน ความหมายว่า แปลกออกไป นอกแบบ นอกทาง.
ถน : (ปุ.) นม (อวัยวะสองเต้าที่หน้าอก สัตว์ บางชนิดมีหลายเต้า), เต้านม, ถัน. ตนุ วิตฺถาเร, อ, ตสฺส โถ. ถรฺ เทวสทฺเท วา, อ. เถนฺ โจริเย วา. อภิฯ และ ฏีกาอภิฯ.
อจฺฉร อจฺฉริย อจฺเฉร : (วิ.) แปลก, แปลก ประหลาด ประหลาดใจ, พิศวง, น่าพิศวง อัศจรรย์, น่าอัศจรรย์, อัศจรรย์ใจ. ส. อาศิจรฺย อาศฺจรฺยฺย.
อญฺญตม อญฺญตร : (วิ.) อันหนึ่ง, ชนิดหนึ่ง, อย่างใดอย่างหนึ่ง, อื่น, ต่างหาก, แปลก ออกไป, ต่างไป, นอกจากนี้, คนหนึ่ง, คนใดคนหนึ่ง, อญฺโญ เอว อญฺญตโม อญฺญตโร วา. อญฺญสทฺทา, สกตฺเถ ตโม ตโร วา.
ปถ : (ปุ.) ทาง, หนทาง, ถนน, คลอง, แถว, แนว, ถิ่น. วิ. ปถติ เอตฺถาติ ปโถ. ปถติ อเน นาติ วา ปโถ. อุปฺปนฺนกิจฺจากิจฺเจหิชเนหิ ปถียตีติ วา ปโถ. ปถฺ คติยํ, อ. ถ้ามาคู่กับ อุปถ อุปฺปถ ทางผิด แปล ปถ ว่า ทางถูก.
ปุววิกติ : (ปุ.) ขนมอันบุคคลทำให้หลาก. หลากคือต่างๆ แปลก เลิศลอย.
เภท : (วิ.) ต่อย, แตก, ทำลาย, หัก, พัง, เจาะ, ต่าง (ผิดแผก ไม่เหมือนเดิม), แปลก.
กาลเทส : (ปุ.) เวลาและท้องถิ่น, เวลาและ ถิ่นที่, เวลาและสถานที่, คราวและที่, กาลเทสะ กาลเทศะ คือการทำที่เหมาะ ควรแก่เวลาและสถานที่ การรู้จักเวลาและ สถานที่ การรู้จักคราวควรและไม่ควร.
ชคติปฺปเทส : ป. ประเทศแห่งแผ่นดิน, ถิ่นที่บนพื้นโลก, ภูมิประเทศ
ชนปท : (ปุ.) ตำบล, บ้านเมือง, ประเทศถิ่น. ไทยใช้ ชนบท ในความหมายว่า พื้นที่ หรือ เขตแดนที่อยู่นอกเขตเมืองหลวง บ้านนอก. ส. ชนบท.
ชนปทปเทส : ป. ถิ่นที่อันเป็นชนบท, ส่วนชนบท
ชาติภูมิ : อิต. ชาติภูมิ, ถิ่นที่เกิด, บ้านเกิดเมืองนอน
เทสปญฺญตฺติ : (อิต.) บัญญัติของท้องถิ่น, เทส+ปญฺญตฺติ, บัญญัติของเทศบาล, เทสปาล+ปญฺญตฺติ. เทศบัญญัติ คือ กฎหมายของเทศบาล มีผลบังคับอย่างเดียวกันกับกฎหมาย แต่ใช้บังคับเฉพาะ ของเทศบาลนั้นๆ.
เทสปาล : (ปุ.) การปกครองของท้องถิ่น, การปกครองท้องถิ่น, การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น, เทศบาล.
เทสมนฺตี : (ปุ.) การปกครองของท้องถิ่น, การปกครองท้องถิ่น, การบริหารราชการส่วนท้องถิ่น, เทศบาล.
เทสิก :
๑. ค. ดู เทสก๒. ค. ซึ่งมีในถิ่น, ซึ่งเกิดในประเทศ, ซึ่งเนื่องในประเทศ
ปฏิรูปเทสวาส : ป. การอยู่ในประเทศอันสมควร, การอยู่ในถิ่นที่เจริญ
ปเทสรชฺช : นป. ความเป็นพระราชาในประเทศ, ความเป็นใหญ่ในถิ่น, ความเป็นเจ้าประเทศราช
ปเทสิก : ค. ซึ่งมีในประเทศ, ซึ่งมีในบางถิ่น, ซึ่งเป็นบางส่วน
ปพฺพตคหณ : นป. ชัฏแห่งภูเขา, ดงที่มีภูเขา, ถิ่นที่มีภูเขามาก
ปรชน : ป. คนอื่น, คนแปลกหน้า, คนภายนอก, คนฝ่ายตรงข้าม, ข้าศึก, ปีศาจ
ปริเวณ : นป. บริเวณ, ขอบเขต; ถิ่นที่อยู่
ปวสติ : ก. อยู่ต่างถิ่น, อยู่ไกลบ้าน
ปวาส : ป. การท่องเที่ยวไปต่างประเทศ, การอยู่นอกถิ่นของตน
ปวาสี : ค. ผู้อยู่ต่างถิ่น, ผู้อยู่นอกบ้าน
ปาฏิหาริ, ปาฏิหาริก, ปาฏิหาริย, ปาฏิหีร, ปาฏิเหร : นป. ปาฏิหาริย์, ความมหัศจรรย์, ปรากฏการณ์ที่แปลกประหลาด
พฺยติเรก : (วิ.) แปลกออกไป. วิ+อติ+เอก รฺ อาคม.
วิกล : ค.ไม่ปรกติ, แปลกไป, อ่อนแอ
วิการ : ป. การทำให้แปลกไป, พิการ
วิกุพฺพติ : ก. เปลี่ยนแปลง, ทำให้แปลกไป
เวมตฺต : นป. ความต่างกัน, ความแปลกไป
สปาก : (ปุ.) แปลและวิเคราะห์เหมือน สปจ. แปลกแต่ลง ณ ปัจ. ทีฆะแปลง จ เป็น ก.
อจฺฉรอจฺฉริยอจฺเฉร : (วิ.) แปลก, แปลกประหลาด ประหลาดใจ, พิศวง, น่าพิศวงอัศจรรย์, น่าอัศจรรย์, อัศจรรย์ใจ.ส.อาศิจรฺยอาศฺจรฺยฺย.
อจฺฉริย : ๑. นป. ความอัศจรรย์;
๒. ค. น่าอัศจรรย์, น่าแปลกใจ
อจฺเฉร, - ก : ค. อัศจรรย์, น่าแปลกใจ
อญฺเจติ, อญฺจยติ : ก. แปลก, พิเศษ
อญฺญตมอญฺญตร : (วิ.) อันหนึ่ง, ชนิดหนึ่ง, อย่างใดอย่างหนึ่ง, อื่น, ต่างหาก, แปลกออกไป, ต่างไป, นอกจากนี้, คนหนึ่ง, คนใดคนหนึ่ง, อญฺโญเอวอญฺญตโมอญฺญตโร วา.อญฺญสทฺทา, สกตฺเถตโมตโรวา.
อติมาน : (ปุ.) ความเย่อหยิ่ง, ความจองหองอติมานะ (เย่อหยิ่งจองหองดูถูกท่านดูหมิ่นท่านดูหมิ่นถิ่นแคลนการถือตัวว่ายิ่งกว่าใคร ๆ).ส.อติมาน.
อพฺภาคต : ค. แขก, คนแปลกหน้า, ผู้มาถึงแล้ว
อพฺภุต : ๑. นป. ความแปลกใจ, ความอัศจรรย์; ของพนัน ;
๒. ค. น่าแปลกใจ, น่าอัศจรรย์
อวิเสสกร : ค. อันไม่แปลก, ไม่แตกต่าง
อวิเสสน : ก. วิ. โดยไม่แปลก, โดยไม่แตกต่างกัน
อาวาสิกวตฺต : (นปุ.) ข้อปฏิบัติของบุคคลผู้ เป็นเจ้าของถิ่น, ข้อปฏิบัติของภิกษุผู้อยู่ ในอาวาส.
เอกวิธา : ก. วิ. โดยส่วนเดียว, โดยไม่แปลกกัน
ถนธาร : (ปุ.) สายน้ำอันเกิดแต่ถัน, สาย น้ำนม.
ถนปา : (อิต.) เด็กหญิงผู้ดื่มซึ่งน้ำอันเกิดจาก นม, ฯลฯ, ทาริกา.
ถนยติ : ก. คำราม, แผดเสียง, (ฟ้า) ร้อง
ถนสิทารก : ป. ทารกผู้นอนดูดนม, เด็กกินนม