กูฏ : (วิ.) เลว, โกง, ปลอม, เก๊, เท็จ, หลอก ลวง. กูฏ เฉทเน วา, อ. ทีโฆ.
จิตฺต จิตฺร : (วิ.) ไพเราะ, งาม, งดงาม, สวยงาม, ตระการ, ประหลาด, แปลก, หลากสี, หลายสี, เรื่อเรือง เรืองรอง, ด่าง, พร้อย, ดำมอๆ, วิจิต, วิจิตร. จิตฺตฺ จิตฺติกรเณ, อ. ส. จิตฺร.
สฐ : ค. ฉ้อฉล, ปลอม, โอ้อวด
อุตฺตริ : (วิ.) ยิ่ง, ยอดเยี่ยม, ชั้นเยี่ยม, แปลก, มากขึ้น, อุตริ. คำ อุตริ ที่นำมาใช้ใน ภาษาไทยออกเสียงว่า อุดตะหริ ใช้ใน ความหมายว่า แปลกออกไป นอกแบบ นอกทาง.
อจฺฉร อจฺฉริย อจฺเฉร : (วิ.) แปลก, แปลก ประหลาด ประหลาดใจ, พิศวง, น่าพิศวง อัศจรรย์, น่าอัศจรรย์, อัศจรรย์ใจ. ส. อาศิจรฺย อาศฺจรฺยฺย.
อญฺญตม อญฺญตร : (วิ.) อันหนึ่ง, ชนิดหนึ่ง, อย่างใดอย่างหนึ่ง, อื่น, ต่างหาก, แปลก ออกไป, ต่างไป, นอกจากนี้, คนหนึ่ง, คนใดคนหนึ่ง, อญฺโญ เอว อญฺญตโม อญฺญตโร วา. อญฺญสทฺทา, สกตฺเถ ตโม ตโร วา.
กตก : (วิ.) อันคนทำ, ที่คนทำ. กต+ก ปัจฯ รูปฯ ๓๖๙. แกล้งทำ, เทียม, ปลอม. อภิฯ
นิกติ : (วิ.) โกง, ล่อลวง, ปลอม.
ปุววิกติ : (ปุ.) ขนมอันบุคคลทำให้หลาก. หลากคือต่างๆ แปลก เลิศลอย.
เภท : (วิ.) ต่อย, แตก, ทำลาย, หัก, พัง, เจาะ, ต่าง (ผิดแผก ไม่เหมือนเดิม), แปลก.
กสกูฏ : นป. การโกงด้วยโลหะปลอม
กิตฺติม : (วิ.) ปลอม, แกล้งทำ (ของ...). กิตฺตฺ ธาตุในความเปรียบเทียบ อิม ปัจ.
เถยฺยสวาส : (ปุ.) การอยู่ร่วมโดยความเป็น แห่งขโมย, การอยู่ร่วมโดยความเป็นขโมย, การลักเพศ (การแต่งตัวให้ผิดไปจาก เพศเดิม เช่น ปลอมบวชเป็นสมณะ).
เถยฺยสวาสก : (ปุ.) คนลักเพศ. คนลักเพศ คือคนที่ปลอมบวชเป็นภิกษุหรือสามเณร หรือคนที่บวชเอาเอง หรือภิกษุสามเณร ที่ทำผิดวินัยถึงขาดจากความเป็นบรรชิต แต่ยังครองผ้ากาสาวพัตรอยู่.
นิกจฺจ : นป. ปลอม, ฉ้อโกง, หลอกลวง
ปฏินาสิกา : อิต. จมูกปลอม
ปฏิรูป : ค. ๑. เหมาะ, ควร, สมควร, เหมาะสม;
๒. (ใช้เป็นบทหลังในรูปสมาส เช่น มิตฺตปฏิรูป เป็นต้น) มีรูปเหมือน, คล้ายคลึง, เทียม, ปลอมแปลง
ปรชน : ป. คนอื่น, คนแปลกหน้า, คนภายนอก, คนฝ่ายตรงข้าม, ข้าศึก, ปีศาจ
ปาฏิรูปิก : ค. ซึ่งปลอมแปลง, ซึ่งเทียม, ซึ่งไม่แท้, ซึ่งหลอกลวง
ปาฏิหาริ, ปาฏิหาริก, ปาฏิหาริย, ปาฏิหีร, ปาฏิเหร : นป. ปาฏิหาริย์, ความมหัศจรรย์, ปรากฏการณ์ที่แปลกประหลาด
พฺยติเรก : (วิ.) แปลกออกไป. วิ+อติ+เอก รฺ อาคม.
วิกล : ค.ไม่ปรกติ, แปลกไป, อ่อนแอ
วิการ : ป. การทำให้แปลกไป, พิการ
วิกุพฺพติ : ก. เปลี่ยนแปลง, ทำให้แปลกไป
เวมตฺต : นป. ความต่างกัน, ความแปลกไป
สปาก : (ปุ.) แปลและวิเคราะห์เหมือน สปจ. แปลกแต่ลง ณ ปัจ. ทีฆะแปลง จ เป็น ก.
สมณกุตฺติก : ป. พระปลอม
อจฺฉรอจฺฉริยอจฺเฉร : (วิ.) แปลก, แปลกประหลาด ประหลาดใจ, พิศวง, น่าพิศวงอัศจรรย์, น่าอัศจรรย์, อัศจรรย์ใจ.ส.อาศิจรฺยอาศฺจรฺยฺย.
อจฺฉริย : ๑. นป. ความอัศจรรย์;
๒. ค. น่าอัศจรรย์, น่าแปลกใจ
อจฺเฉร, - ก : ค. อัศจรรย์, น่าแปลกใจ
อญฺเจติ, อญฺจยติ : ก. แปลก, พิเศษ
อญฺญตมอญฺญตร : (วิ.) อันหนึ่ง, ชนิดหนึ่ง, อย่างใดอย่างหนึ่ง, อื่น, ต่างหาก, แปลกออกไป, ต่างไป, นอกจากนี้, คนหนึ่ง, คนใดคนหนึ่ง, อญฺโญเอวอญฺญตโมอญฺญตโร วา.อญฺญสทฺทา, สกตฺเถตโมตโรวา.
อญฺญาตกเวส : (ปุ.) เพศอันบุคคลไม่รู้แล้ว, การปลอมเพศ.
อญฺาตกเวส : (ปุ.) เพศอันบุคคลไม่รู้แล้ว, การปลอมเพศ.
อพฺภาคต : ค. แขก, คนแปลกหน้า, ผู้มาถึงแล้ว
อพฺภุต : ๑. นป. ความแปลกใจ, ความอัศจรรย์; ของพนัน ;
๒. ค. น่าแปลกใจ, น่าอัศจรรย์
อวิเสสกร : ค. อันไม่แปลก, ไม่แตกต่าง
อวิเสสน : ก. วิ. โดยไม่แปลก, โดยไม่แตกต่างกัน
เอกวิธา : ก. วิ. โดยส่วนเดียว, โดยไม่แปลกกัน
ปิลก : ป. ต่อมเล็กๆ, หูด, สิว, ฝี, ไฝ
เปลก : (ปุ.) กระต่าย. เปลฺ คติยํ, ณฺวุ.
อุปฺปลก : ป. คล้ายดอกบัว; ชื่อนรกขุมหนึ่ง