นวก : (วิ.) ต้น, แรก, ใหม่, สด, หนุ่ม. นว+ ก สกัด
อธุนา : (อัพ. นิบาต) เดี๋ยวนี้, เมื่อกี้, ไม่นาน, ใหม่, ในกาลนี้, ในกาลเดี๋ยวนี้.
จิตฺต จิตฺร : (วิ.) ไพเราะ, งาม, งดงาม, สวยงาม, ตระการ, ประหลาด, แปลก, หลากสี, หลายสี, เรื่อเรือง เรืองรอง, ด่าง, พร้อย, ดำมอๆ, วิจิต, วิจิตร. จิตฺตฺ จิตฺติกรเณ, อ. ส. จิตฺร.
อุตฺตริ : (วิ.) ยิ่ง, ยอดเยี่ยม, ชั้นเยี่ยม, แปลก, มากขึ้น, อุตริ. คำ อุตริ ที่นำมาใช้ใน ภาษาไทยออกเสียงว่า อุดตะหริ ใช้ใน ความหมายว่า แปลกออกไป นอกแบบ นอกทาง.
อจฺฉร อจฺฉริย อจฺเฉร : (วิ.) แปลก, แปลก ประหลาด ประหลาดใจ, พิศวง, น่าพิศวง อัศจรรย์, น่าอัศจรรย์, อัศจรรย์ใจ. ส. อาศิจรฺย อาศฺจรฺยฺย.
อญฺญตม อญฺญตร : (วิ.) อันหนึ่ง, ชนิดหนึ่ง, อย่างใดอย่างหนึ่ง, อื่น, ต่างหาก, แปลก ออกไป, ต่างไป, นอกจากนี้, คนหนึ่ง, คนใดคนหนึ่ง, อญฺโญ เอว อญฺญตโม อญฺญตโร วา. อญฺญสทฺทา, สกตฺเถ ตโม ตโร วา.
ตรุณ : (วิ.) อ่อน, หนุ่ม, รุ่น, ใหม่.
ปุววิกติ : (ปุ.) ขนมอันบุคคลทำให้หลาก. หลากคือต่างๆ แปลก เลิศลอย.
เภท : (วิ.) ต่อย, แตก, ทำลาย, หัก, พัง, เจาะ, ต่าง (ผิดแผก ไม่เหมือนเดิม), แปลก.
อภินว : (วิ.) ชมเชย, ยกย่อง, สรรเสริญ, ใหม่.นุถุติยํ, อ, นโว.นโว.เอวอภินโว. อภิมโตปสตฺโถวานโวอภินโว.
นว : (วิ.) ใหม่, สด, หนุ่ม. นุ ถุติยํ, โณ. อภิฯ ลง อ ปัจ. ส. นว, นวีน.
นูตน : ค. ใหม่, สด
ขยาตีต : ค. ล่วงเลยไป, การหมดไปแล้วกลับคืนมาใหม่
เคหปฺปเวสน : นป. การเข้าสู่เรือน, พิธีทำบุญขึ้นบ้านใหม่
ทุสฺสคหณมงฺคล : นป. พิธีมงคลเสื้อผ้า, พิธีมงคลนุ่งห่มผ้าใหม่
นวกตร : ค. ใหม่กว่า, อ่อนกว่า
นวกภิกฺขุ : (ปุ.) ภิกษุผู้บวชใหม่, นวกภิกษุ (ผู้มีพรรษายังไม่ครบ ๕).
นวกมฺม : (นปุ.) การทำใหม่, การงานใหม่, กิจอัน... ทำใหม่, การก่อสร้าง.
นวกมฺมิก : (วิ.) ผู้ประกอบด้วยกรรมใหม่, ผู้ ควบคุมการก่อสร้าง, ผู้ควบคุมงานก่อสร้าง. วิ. นวกมฺเมน นยุตโต นวกมฺมิโก. กัจฯ และรูปฯ ลง ณิกปัจ. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ลงอิก ปัจ.
นวโกวาท : (ปุ.) โอวาทเพื่อภิกษุใหม่, คำสั่ง สอนสำหรับภิกษุและสามเณรผู้บวชใหม่, นวโกวาท ชื่อหนังสือเล่ม ๑ ซึ่งทางคณะ สงฆ์ประกาศใช้เป็นหลักสูตรนักธรรมชั้น ตรีและธรรมศึกษาชั้นตรี (ธ.ศ. ตรีนั้น ใช้เฉพาะส่วนธรรมวิภาคและคิหิปฏิบัติ).
นวสปฺปิสงฺขตขีรยาคุ : (อิต.) ข้าวยาคูอัน บุคคลต้มแล้วด้วยน้ำนมอันปรุงแล้วด้วย เนยใสใหม่. เป็น วิเสสนบุพ. กัม. มี ต ตัป., วิเสสนบุพ. กัม. และ ต. ตัป. เป็นภายใน.
นวาวาส : (ปุ.) วัดใหม่, วัดสร้างใหม่.
ปฏิทสฺเสติ : ก. แสดงเฉพาะ, แสดงตน, ปรากฏใหม่
ปฏิทุกฺขาปนตา : อิต. ภาวะที่กลับทำให้เกิดมีความทุกข์ขึ้นใหม่อีก
ปฏินิทฺเทส : ป. การกลับชี้แจง, การวกกลับมาอธิบายเรื่องใหม่อีก
ปฏิวินิจฺฉินติ : ก. วินิจฉัยใหม่, กลับพิจารณาอีก
ปฏิวิรูหติ : ก. งอกขึ้นมาใหม่, กลับงอกงามแล้ว
ปฏิสนฺทหติ : ก. สืบต่อ, ต่อเนื่อง, เกิดใหม่, ปฏิสนธิ
ปฏิสนฺธิ : อิต. ปฏิสนธิ, การสืบต่อ, การถือกำเนิดใหม่, การเกิดใหม่
ปฏิสนฺธิยติ : ก. ปฏิสนธิ, สืบต่อ, เกิดใหม่
ปฏิสมฺมชฺชติ : ก. กวาดอีก, กลับกวาดใหม่
ปรชน : ป. คนอื่น, คนแปลกหน้า, คนภายนอก, คนฝ่ายตรงข้าม, ข้าศึก, ปีศาจ
ปาฏิหาริ, ปาฏิหาริก, ปาฏิหาริย, ปาฏิหีร, ปาฏิเหร : นป. ปาฏิหาริย์, ความมหัศจรรย์, ปรากฏการณ์ที่แปลกประหลาด
ปุนทิวส : ป., นป. วันใหม่, วันรุ่งขึ้น, วันพรุ่ง
ปุนพฺภว : ป. ภพใหม่, การเกิดอีก
ปุนวาร : ป. คราวต่อไป, ครั้งใหม่
โปโนพฺภวิก : (วิ.) มีปกติทำซึ่งภพใหม่อีก, มีกิริยาอันตกแต่งซึ่งภพใหม่เป็นปกติ, เป็นไปเพื่อความเป็นอีก,ทำความเกิดอีก. ปุน+ภว+ณิก ปัจ. ตรัต๎ยาทิตัท. พฤทธิ อุ เป็น โอ ลง โออาคม หน้า น หรือแปลง อ ที่ น เป็น โอ ก็ได้ ซ้อน พฺ.
พฺยติเรก : (วิ.) แปลกออกไป. วิ+อติ+เอก รฺ อาคม.
วิกล : ค.ไม่ปรกติ, แปลกไป, อ่อนแอ
วิการ : ป. การทำให้แปลกไป, พิการ
วิกุพฺพติ : ก. เปลี่ยนแปลง, ทำให้แปลกไป
เวมตฺต : นป. ความต่างกัน, ความแปลกไป
สปาก : (ปุ.) แปลและวิเคราะห์เหมือน สปจ. แปลกแต่ลง ณ ปัจ. ทีฆะแปลง จ เป็น ก.
สิกฺขมานา : (อิต.) นางสิกขมานา ชื่อของสามเณรี ผู้มีอายุครบ ๑๘ ปี แล้ว รักษาสิกขาบทตั้งแต่ปาณาติปาตา เวรมณี ถึง วิกาลโภชนา เวรมณี ๖ สิกขาบทไม่ให้ขาดครบ ๒ ปี จึงจะอุปสมบทเป็นภิกษุณีได้ ถ้าขาดสิกขาบทใดสิกขาบท ๑ ต้องนับตั้งต้นไปใหม่จนครบ ๒ ปี จึงจะอุปสมบทได้. วิ. สิกฺขตีติ สิกฺขมานา สิกฺขฺ วิชฺโชปาทานาเน, มาโน.
อจฺฉรอจฺฉริยอจฺเฉร : (วิ.) แปลก, แปลกประหลาด ประหลาดใจ, พิศวง, น่าพิศวงอัศจรรย์, น่าอัศจรรย์, อัศจรรย์ใจ.ส.อาศิจรฺยอาศฺจรฺยฺย.
อจฺฉริย : ๑. นป. ความอัศจรรย์;
๒. ค. น่าอัศจรรย์, น่าแปลกใจ
อจฺเฉร, - ก : ค. อัศจรรย์, น่าแปลกใจ
อญฺเจติ, อญฺจยติ : ก. แปลก, พิเศษ
อญฺญตมอญฺญตร : (วิ.) อันหนึ่ง, ชนิดหนึ่ง, อย่างใดอย่างหนึ่ง, อื่น, ต่างหาก, แปลกออกไป, ต่างไป, นอกจากนี้, คนหนึ่ง, คนใดคนหนึ่ง, อญฺโญเอวอญฺญตโมอญฺญตโร วา.อญฺญสทฺทา, สกตฺเถตโมตโรวา.
อติเรกจีวร : (นปุ.) ผ้าเกิน, อติเรกจีวรคือผ้าที่ยังไม่ได้อธิฐานยังไม่ได้วิกัป. ไตร๒/๔ผ้าที่ได้มาใหม่ยังไม่ได้พินทุอธิฐานและวิกัปผ้าอันไม่ใช่ของอธิฐานและไม่ใช่ของวิกัปผ้านอกจากไตรจีวร มีขนาดตั้งแต่๔x๘ นิ้ว และไม่ใช่ของวิกัป.