ปล : นป. ชื่อมาตราน้ำหนัก ประมาณ ๔ ออนส์
กปฺปุร กปฺปูร : (ปุ. นปุ.) การบูร ชื่อต้นไม้ ชนิดหนึ่งมีกลิ่นฉุนและรสร้อน อีกอย่าง หนึ่งเป็นชื่อของตัวยาที่กลั่นมาจากต้นไม้ นั้นเป็นเกล็ดสีขาวคล้ายพิมเสน.วิ. อตฺตโน คนฺเธน อญฺญํ คนฺธํ กปตีติ กปฺปูโร. กปฺ หึสายํ, อูโร, ทฺวิตฺตํ. กปฺปติ โรคาปนเย สมตฺเถตีติ วา กปฺปูโร. กปฺปฺ สามตฺถิเย, อูโร. กัจฯ ๖๗๐ เวสฯ ๗๙๕ ลง อุรปัจ. อภิฯวิ. ตุฏฺฐิอุปฺปาเทตุ กปฺปตีติ กปฺปูรํ. กปฺปฺ สามตฺถิเย, อูโร. กปุ ตกฺโกลคนฺเธ วา, อูโร. ชื่อของต้นไม้เป็น ปุ. ชื่อของเกล็ด ที่กลั่นมาจากต้นไม้นั้นเป็น นปุ. พิมเสนก็ แปล. ส. กรฺปูร.
กิมงฺค : (นปุ.) คำมีอะไรเป็นเหตุ, อะไรเป็น เหตุ. แปล องฺค ว่าเหตุ อ. กิมงฺคํ ปน ก็ อ. อะไรเป็นเหตุเล่า แปลโดยอรรถว่า จะป่วยกล่าวไปใย. กึ
กึชาติก กึนิทาน กึปภว กึสมุทย : (วิ.) มีอะไร เป็นชาติ, มีอะไรเป็นเหตุ, มีอะไรเป็น แดนเกิดก่อน, มีอะไรเป็นสมุทัย (แปล ตามลำดับศัพท์). วิ. ตัวอย่าง โก ปภโว อสฺสาติ กึปภโว.
กุลทูสกกมฺม : (นปุ.) การกระทำของภิกษุผู้ประ- ทุษร้ายตระกูล มี วิ. ดังนี้. ทุ. ตัป. กุลสฺส ทูสโก กุลทูสโก (ภิกฺขุ). วิเสสนบุพ. กัม. กุลทูสกภิกฺขุโน กมฺมํ กุลทูสกกมฺมํ. แปล ว่า การกระทำของบุคคลผู้ประทุษร้าย ตระกูลบ้าง.
ขตฺติยกญฺญา : (อิต.) นางกษัตริย์, หญิงผู้เป็น พระเจ้าแผ่นดิน. วิ. ขตฺติยา กญฺญา ขตฺติยกญฺญา ขตฺติยา เป็น ปุ. มาก่อน เมื่อเป็นบทปลงใช้เป็น ปุ. ตามเดิม เวลา แปล แปลเป็นอิต. ตามประธาน ถ้าศัพท์ ที่เป็นอิต. ก็เป็นอิตตามเดิม เช่น คงฺคานที เป็นต้น
จีวรวส จีวรรชฺชุ : (ปุ.) ราวจีวร, สายระเดียง (ราวสำหรับตากผ้า แขวนผ้า ของพระ ใช้ หวายเป็นดี เพราะไม่เป็นสนิม) ถ้าศัพท์ทั้ง สองนี้มาคู่กัน แปล จีวรวํส ว่า ราวจีวร แปล จีวรรชฺชุ ว่า สายระเดียงจีวร.
ชยสุมน : (นปุ.) ชยสุมนะ ชื่อของต้นไม้ที่มี ดอกสีแดง เช่น หงอนไก่ ชบา, ดอกชบา, ดอกชัยพฤกษ์ และดอกคำ, ดอกชัยพฤกษ์ (แปล สุมน ว่า ดอก).
ชิน : (ปุ.) ความเสื่อม, ความสิ้น, ความเสื่อม สิ้น, ความย่อยยับ. ชิ ชานิยํ, อิโน. ผักชี ล้อม ก็ แปล.
ทารุ : (นปุ.) ไม้, เปลือกไม้, ท่อนไม้, ชิ้นไม้, ไม้แห้ง, ฟืน. วิ. ทรียตีติ ทารุ. ทรียนฺเต เอเตหีติ วา ทารุ. วิ. หลังนี้ จากโมคฯ. ทรฺ วิทารเณ, ณุ. ทารุ. ที่มาคู่กับไม้ไม่มีแก่น แปล ทารุ ว่าไม้จริง (ไม้มีแก่น). ส. ทารุ
ทิสา : (อิต.) ด้าน, ข้าง, ทิศ. ทิสฺ เปกฺขเณ, อ. อา อิต. ถ้าใช้คู่กับวิทิสา แปลว่า ทิศใหญ่ แปล วิทิสา ว่าทิศน้อย และยังใช้ในความหมายว่า บิดา มารดา คนให้ทาน และ พระนิพพาน. ส. ทิศ ทิศา.
ปถ : (ปุ.) ทาง, หนทาง, ถนน, คลอง, แถว, แนว, ถิ่น. วิ. ปถติ เอตฺถาติ ปโถ. ปถติ อเน นาติ วา ปโถ. อุปฺปนฺนกิจฺจากิจฺเจหิชเนหิ ปถียตีติ วา ปโถ. ปถฺ คติยํ, อ. ถ้ามาคู่กับ อุปถ อุปฺปถ ทางผิด แปล ปถ ว่า ทางถูก.
ปริเทวิตตฺต : (นปุ.) ความเป็นแห่ง...เป็นผู้ ร้องไห้แล้ว, ฯลฯ. ปริเทวิต+ตฺต ปัจ. แปล ปริเทวิต เป็น กิริยากิตก์. ความเป็น แห่ง...เป็นผู้ร้องไห้, ฯลฯ. แปล ปริเทวิต เป็นนาม.
สมฺมปปญฺญ : (วิ.) ผู้มีปัญญาโดยชอบ. เป็นภินนาธิกรณพหุพ. ผู้มีปัญญาชอบ. เป็น ฉ. พหุพ. แปล สมฺมา เป็นวิเสสนะของปญฺญา ว่า “ชอบ”.
อติเรกลาภคฺคยสคฺคปฺปตฺต : (วิ.) ผู้ถึงแล้ว ซึ่งความเป็นแห่งบุคคลผู้มีลาภอันเลิศและความเป็นแห่งบุคคลผู้มียศอันเลิศยิ่ง(แปล อดิเรกว่า ยิ่ง) มี วิ.ตามลำดับดังนี้.ฉ ตุล. ลาโภ อคฺโค ยสฺสโสลาภคฺโค(ชโนฉ ตัป. ลาภคฺคสฺส ภาโว ลาภคฺคภาโว.ฉ ตุล. ยโส อคฺโค ยสฺส โส ยสคฺโค(ชโน)ฉ ตัป. ยสคฺคสฺส ภาโว ยสคฺคภาโว อ. ทวัน ลาภคฺคภาโว จยสคฺคภาโวจลาภคฺคยสคฺคา.อุป.อัพ. เอกสฺมาอุตฺตรํอติเรกํ.วิเสสนบุพ.กัม. อติเรกา จ เต ลาภคฺคยสฺสคฺคา จาติ อติเรกลาภคฺคยสคฺคา.ทุ. ตัป.อติเรกลาภคฺคยสคฺเคปตฺโตอติเรกลาภคฺคยสคฺคปฺปตฺโต(ชโน).ถ้าจะถือว่า พหุพ. เป็นสมาสคุณไม่ยอมเปลี่ยนก็ต้องวิ.วิเสสนบุพ.กัมอีกสองสมาส หลัง ฉงตุล.ทั้งสองว่าลาภคฺโคปุคฺคโล (ชโน ก็ได้) ลาภคฺคปุคฺคโลฉ.ตัป. ก็เป็น ลาภคฺคปุคฺคลสฺ ภาโว ลาภคฺคภาโว.ศัพท์ ยสคฺค ก็นัยเดียวกัน. หรือจะแปลว่า ผู้ถึงแล้วซึ่งความเป็นแห่งบุคคลผู้เลิศด้วยลาภและความเป็นแห่งบุคคลผู้ยิ่งด้วยยศยิ่งกว่าหนึ่ง ก็ได้ตั้ง วิ. ตามแปล.
เอกมนฺต : (อัพ. นิบาต) โดยส่วนเดียว, ด้วย แท้, รูปฯ เป็นนิบาตลงในอรรภสัตมี แปล ว่า ในที่ควรส่วนข้างหนึ่ง, ในที่แห่งหนึ่ง, ณ ที่แห่งหนึ่ง.
เอลก เอฬก : (ปุ.) ธรณีประตู, แกะ, แพะ. อลฺ คติยํ, ณฺวุ. ถ้ามาคู่กับ อช แปล เอลก ว่า แกะ. ส. เอฬก แกะ, แพะ.
โอสธิ : (อิต.) ไม้ตายเมื่อมีผลแก่ (เช่นต้น กล้วยเป็นต้น). โย ผลปากาวสาเน มรติ, โส กทลีธญฺญาทิ โก โอสธิ นาม. ฎีกาอภิฯ ตาม วิ. นี้เป็น ปุ. อภิฯ วิ. โอโส ธียเต ยสฺสํ สา โอสธิ. ไม้ล้มลุก ก็ แปล.
อุปล อุปฺปล : (นปุ.) บัว, ดอกบัว, บัวเผื่อน, อุบล (บัวขาบ บัวสาย). วิ. อุทกํ ปิวตีติ อุปลํ อุปฺปลํ วา. อุทกปุพฺโพ, ปา ปาเน, โล. ทกโลโป. แปลว่า หัวใจ ก็ได้. ส. อุตฺปล.
กกฺก : (ปุ.) จุณสำหรับอาบ (นฺหานจุณฺณ). กชฺชฺ พฺยถเน, อ. แปลง ชฺช เป็น กก. หนอก หนอกโค ก็แปล.
กกฺการุ : (ปุ.) ฟัก, แฟง, แตง, น้ำเต้า. ถ้าประ โยคมี ติ สังขยาอยู่ แปลรวมเป็น ฟักแฟง แตง น้ำเต้า. นับ ฟัก แฟง รวมเป็น ๑. อรุ ปัจ.
กกุธ : (ปุ.) ไม้รกฟ้าขาว, ไม้กุ่ม. วิ. กํ วาตํ กุฏติ นิวาเรตีติ กกุโธ. เอกักขรโกสฎีกา. อภิฯ และ เวสฯ เป็น กกฺ ธาตุ อุธ ปัจ. แปลว่า ไม้รังไก่ ก็มี.
กฏจฺฉุ : (ปุ.) จวัก ตวัก ของคำนี้เป็นชื่อของ เครื่องใช้สำหรับตักข้าวหรือแกง ทำด้วย กะลามะพร้าว มีด้ามไม้ยาวคล้ายทัพพี เรียกอีกอย่างหนึ่งว่าจ่า หรือกระจ่า, ทัพพี, ทรพี, ช้อน, ถ้วย. กฏฺ คติยํ, ฉุ, ทฺวิตฺตํ กฏจฺฉุ ที่มาคู่กับ ทพฺพิ ควรแปล กฏจฺฉุ ว่า ช้อน หรือ ถ้วย.
กตญฺญุตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ซึ่งอุปการะอันบุคคลอื่นทำแล้วแก่ตน, ความเป็นแห่งบุคคลผู้รู้ซึ่งอุปการะอันบุพการีชนทำแล้ว, ความเป็นแห่งบุคคลผู้กตัญญู, ความเป็นผู้กตัญญู. วิ. กตญฺญุสฺส ภาโว กตญฺญุตา. รัสสะ อู เป็น อุ ในเพราะ ตา ปัจ. รูปฯ ๓๗๑. ความกตัญญู ลง ตา ปัจ. สกัด. มีสำนวนแปลอีก ดู กตญฺญู.
กปาล : (ปุ. นปุ.) กะโหลก กะโหลกศีรษะ. วิ. กํ สีสํ ปาเลตีติ กปาลํ. กปุพฺโพ, ปาลฺรกฺขเณ, โณ. กปฺปนฺติ ชีวิตํ เอเตนาติ วากปาลํ. กปฺปฺ สิทฺธิยํ, อโล. ลบ ปฺ สงโยค. กระเบื้องหม้อ ก็แปล. ส.ก ปาล.
กมฺมสฺสก : (นปุ.) กรรมอันเป็นของตน, กรรม เป็นของตน, กรรมของตน. วิเสสนุต. กัม. กมฺม+สก ซ้อน สฺ คำว่าของ เป็นคำแปล ของคำ สก.
กลาย กฬาย : (ปุ.) ถั่วดำ วิ. กํ วาตํ ลาตีติ กลาโย กฬาโย วา. กปุพฺโพ. ลา อาทาเน, โย. ถั่วแปบ ถั่วราชมาศ ก็แปล.
กฬิงฺคร : (ปุ.) ข้าวลีบ, แกลบ. ดู กลิงฺคร ต่างแต่ลง ฬฺ อาคม แปลว่า ดุ้นฟืน ท่อน ฟืน ท่อนไม้ ก็มี.
กาจ : (ปุ.) สาแหรก, จักษุโรค (โรคตาชนิด หนึ่ง), กระจก กาจมโย ปตฺโต ธาเรตพฺโพ. ภิกษุไม่พึงใช้บาตรกระจก ไตร. ๗ / ๓๔. โบราณแปลว่าแก้วหุง. กจฺ พนฺธเน, โณ.
กาฬติปุ : (นปุ.) ตะกั่ว, เหล็กวิลาศ (พจนาฯ เป็นเหล็กวิลาด), ดีบุก. กาฬปุพฺโพ, ติปฺ ปีณเน, อุ. ติปุ ศัพท์เดียวก็แปลเหมือนกันนี้.
กาฬาย : (ปุ.) ถั่วดำ, ถั่วแปบ ถั่วราชมาศก็แปล.
กิมิชาติ : (อิต.) ชาติแห่งหนอน, หนอน, แมลงต่าง ๆ. สองคำแปลหลัง ลง ชาติสกัด.
กึ นุ โข : (อัพ. นิบาต) เพราะเหตุอะไรหนอ แล, อะไรหนอแล, อย่างไรหนอแล. กึ แปลเป็นเหตุก็ได้ ฉัฏฐี ก็ได้ ทุติยาก็ได้.
กุจฺฉิต : (วิ.) ต่ำช้า, เลว, เลวทราม. วิ. กุจฺฉา สญฺชาตา อสเสติ กุจฺฉิโต. ศัพท์ กุจฺฉิต ที่แปลว่า อันบัณฑิตติเตียนแล้ว มาจาก กุสฺ อกฺโกเส, โต สสฺส จฺโฉ, อิอาคโม.
กุฐารี กุฏฺฐ ารี : (อิต.) ผึ่ง ชื่อเครื่องมือสำหรับ ถากไม้ชนิดหนึ่งมีรูปคล้ายขวาน วิ. กุจฺฉิตา ธารา ยสฺสาติ กุฐารี กุฏฺฐารี. แปลง ธ เป็น ฐ. ฏฺฐ. เป็น กุธารี โดยไม่แปลงบ้าง ขวาน ก็แปล.
กุมฺม กุมฺมก : (ปุ.) เต่า, เต่าตัวผู้. วิ กุจฺฉิโต อูมิเวโค อสฺสาติ กุมฺโม. ณ ปัจ. ตทัส สัตถิตัท. ลบ จฺฉิต อู และ อิที่มิ เหลือเป็น มฺ ลบ ณฺ เหลือ อ รวมเป็น ม ซ้อน มฺ. กโรตีติ วา กุมฺโม. กรฺ กรเณ, รมฺโม. แปลง กรฺ เป็น กุ. กุรตีติ วา กุมฺโม. กุรฺ สทฺเท, รมฺโม. แปลว่า เต่าเหลือง เต้าน้ำ กระบอกน้ำ หม้อ หม้อน้ำ ก็มี.
กุมฺมาส : (ปุ.) ขนมแดง, ขนมสด, ขนมทำด้วย ถั่วเขียว, ขนมถั่ว. แปลว่า นมเปรี้ยวก็มี.
กุมารก : (ปุ.) เด็ก, เด็กชาย, กุมาร. ก สกัด. เด็กน้อย, กุมารน้อย. ก ที่ลงในอรรถว่า น้อย. ที่เป็นพหุ: แปลว่า เด็กๆ.
กุมิน : (นปุ.) ไซ, ลอบ (เครื่องดักปลามีอย่าง ต่างๆ ถ้าเนื้อความมีความมีความหมาย กว้างๆแปลว่า ลอบไซ). วิ. วชฺฌปฺปตฺตาย กุจฺฉิตา มีนา ยสฺมึ ตํ กุมินํ. กมุ ปทวิกฺ เขเป, อิโน, อสฺส อุตฺตํ. กมนฺติ เอตฺถ มีนาทโย ปวิสนฺตีติ วา กุมินํ. อถวา, กุจฺฉิเตนากาเรน มจฺเฉ มินนฺติ เอเตนาติ วา กุมินํ. กุปุพฺโพ, มิ หึสายํ, ยุ.
กุรร กุรุร : (ปุ.) นกเขา. กุรฺ สทฺเท, อโร. นกออก, นกเหยี่ยว ก็แปล.
โก : (อัพ. นิบาต.) ใน...ไหน, ในที่ไหน. ที่อยู่ใน ประโยคคำถามแปลว่า ทำไม. เวสฯ ๖๒๑.
โกก : (ปุ.) หมาป่า, หมาใน. กุกฺ อาทาเน, โณ แปลว่า ห่านแดง กบ ก็มี. ส. โกก.
โกฏฺฐาสยวาย : (ปุ.) ลมที่อยู่ในไส้, ลมในลำไส้. แปลว่า ลมในไส้ใหญ่ก็ได้.
โกลมฺพ : (ปุ.) หม้อ, กระถาง. วิ. เกน อคฺคินา ลมฺพตีติ. โกลมฺโพ. เก อคฺคมฺหิ ลมฺพตีติ วา. โกลมฺโพ. กปุพฺโพ, ลพิ อวสํสเน, อ, อสฺโสตฺตํ (แปลง อ ที่ ก เป็น โอ). ไห, อ่าง, ขวด ก็แปล.
ขณฺฑสกรา : (อิต.) ขัณฑสกร ชื่อเครื่องยาชนิด หนึ่งคล้ายน้ำตาลกรวด. น้ำตาลกรวด ก็แปล.
ขทิร : (ปุ.) ไม้ตะเคียน, ไม้พยอม, ไม้สะเดา. วิ. ขทนฺติ ทนฺตา อเนนาติ ขทิโร. ขทฺ หึสาเถริเยสุ, อิโร. ขาทียติ ปาณเกหีติ วา ขทิโร. ขาทฺ ภกฺเขเณ, โร, รสฺสตฺตํ, อสฺส อิตฺตญฺจ. แปลว่า ไม้สะแก ไม้สีเสียด ก็มี.
ขนฺติ : (อิต.) ความทน, ความอดทน, ความอดกลั้น. วิ. ขมนํ ขนฺติ. ขมฺ สหเน, ติ, ติสฺส นฺติ, ธาตฺวนฺตสฺส โลโป. แปลว่า ความควร ความชอบ, ความชอบใจบ้าง.
ขาทิกา : (อิต.) แปลเหมือน ขาทน.
ขาริ ขารี : (อิต.) ขารี ชื่อมาตราตวง ๔ มาณิ- กาเป็น ๑ ขารี วิ. จตุสฺสนฺนํ มาณิกานํ สฺมูโห ขารี นาม. แปลว่า สาแหรก ก็มี.
ขีริกา : (อิต.) ไม้เกด วิ. ขีรวนฺตตาย ขีริกา. อิกปัจ. ไม้กระโดน, ไม้อินทนิล. ไม้มะม่วง แมงวัน ก็แปล.