สรีรกิจฺจ : (นปุ.) กิจคือการเผาซึ่งสรีระ (การปลงศพ), กิจแป่งสรีระ (การทำกิจเกี่ยวแก่ร่างกาย), สรีรกิจ.
กุฏิ กุฏิล : (วิ.) คด, โค้ง, โกง, งอ, บิด. กุฏฺ โกฏิลฺเล, อิ, อิโล. เกี่ยว, ตัด, แบ่ง, ปัน, กุฏฺ เฉทเน, อิ, อิโล. กุฏิล นั้นรูปฯ ๖๕๕ ลง อิร ปัจ. แปลง ร เป็น ล. ส. กุฏิล.
ทาริต : ค. แตก, ทำลาย, แบ่ง, แยกออก
เภเทติ : ก. ทำลาย, แบ่ง, แยก, แตก
อาลุมฺปติ : ก. ปั้น, แบ่ง, ตัด; กิน, กินหญ้า
กุฏ กุฏก : (วิ.) คด, โค้ง, โกง, งอ, บิด. กุฏฺ โกฏิลฺเล, อ. ตัด, เกี่ยว, พัน, แบ่ง. กุฏฺ เฉทเน, อ.
สวิภชติ : ก. แบ่ง
กลา : (อิต.) กลา คือส่วน ๑ ใน ๑๖ ส่วน แห่ง ดวงจันทร์ วิ. กลียเต เอกาทินา สํขฺยายเตติ กลา. กลฺ สํขฺยาเณ, อ. เศษ, ส่วน, เสี้ยว, ส่วนแบ่งของเวลา, ศิลปะ.
โกฏฺฐาสเภท : (ปุ.) การแบ่งส่วน (มีม้ามเป็นต้น).
ขณฺฑน : (นปุ.) การตัด, การแบ่ง, การปัน. ขทิ เฉเท, ยุ.
จกฺกราสิ : (ปุ.) จักรราศรี คือทางโคจรรอบดวง อาทิตย์ของดาวนพเคราะห์ แบ่งออกเป็น ส่วนเท่าๆ กัน ๑๒ ส่วน เรียก ๑๒ ราศี.
จีวรภาชก : ค. (ภิกษุ) ผู้เป็นเจ้าหน้าที่แจกจีวร, ผู้แบ่งจีวร
จีวรวิภงฺค : ป. การแจกจีวร, การแบ่งจีวร
ตุวฏฺเฏติ : ก. แบ่ง, ปันส่วน
ทลติ : ก. แบ่งออก, แยกออก, แตกออก
ทานธมฺม : ป. การบำเพ็ญทาน, การเผื่อแผ่, การแบ่งปัน
ทาร : (ปุ.) ภริยา, ภรรยา, เมีย. วิ. ทารยนฺเต อเนนาติ ทาโร (ทำลาย หรือแบ่งความทุกข์ของสามี). ทรฺ วิทารเณ, โณ. อภิฯ. รูปฯ ๕๖๓ วิ. ทรียติ อเนนาติทาโร ส.ทาร.
ทารี : (ปุ.) สามี, ภัสดา, ภรรดา, ภารดา, ผัว (ผู้ทำลายหรือแบ่งเบาความทุกข์ของภรรยา).
เทฺวชฺฌ : ค., นป. ซึ่งแบ่งออกเป็นสองส่วน; มีความสงสัย, ไม่แน่ใจ; ความสงสัย, ความไม่แน่ใจ
ธาตุวิภาค : ป. การแยกธาตุ, การจำแนกธาตุ; การแจกหรือแบ่งพระธาตุ
นิปาตก : ค. ซึ่งแบ่งออกเป็นตอนๆ
ปฏิภชติ : ก. แบ่ง, แจก, จำแนก
ปฏิวิภชติ : ก. แบ่งออก, จำแนก, แจกออก
ปฏิวิภตฺต : ค. ซึ่งถูกแบ่งออกแล้ว
ปฏิวึส, - สก : ป. ส่วน, ส่วนแบ่ง
ปรายณ, - ยน : นป. ที่พึ่ง, ที่พำนัก, ที่พักพิง, เครื่องแบ่งเบา, จุดหมายขั้นสุดท้าย, จุดจบ; ในคำสมาสแปลว่า....เป็นที่ไปในเบื้องหน้า, มี....เป็นที่สุด, ตรงต่อ..., เที่ยงต่อ...
ปวิภชติ : ก. แบ่ง, จำแนก
ปาณิภาค : ป. การแบ่งด้วยมือ
ผลภาชน : ๑. นป. ภาชนะแห่งผลไม้;
๒. ป. ผู้ให้ผลไม้, ผู้แบ่งผลไม้
ผาติ : (อิต.) อันทวี, อันทวีขึ้น, อันเจริญ, อันเจริญขึ้น, อันเพิ่ม, อันเพิ่มขึ้น, การทวี, ฯลฯ, ความทวี, ฯลฯ. ผา ผายฺ วา วุฑฺฒิยํ, ติ. ถ้าตั้ง ผายฺ ธาติพึงลบ ยฺ. การผ่า, การตัด, การฉีก, การแหก, การแยก, การแบ่ง. ผา ผาลเน, ติ.
พล : (นปุ.) ใบ, ใบไม้, ส่วน, ส่วนแบ่ง,ฝัก, ฝักดาบ, ท่อน, ตอน, กลีบ, กลีบดอกไม้. วิ. ทลตีติ ทลํ วิกสเน, อ. เป็น ทลฺล บ้าง ส. ทล.
ภตฺติ : (อิต.) การแบ่ง, การแจก, การให้, การให้ปัน. ภชฺ ภาชน-ทาเนสุ, ติ แปลง ติ เป็น ตฺติ ลบ ชฺ.
ภาค : (วิ.) อันเขาแบ่ง วิ. ภชียตีติ ภาโค. ภชฺ ภาชเน, โณ, ชสฺส โค.
ภาคฺย : (วิ.) อันเขาแบ่ง. วิ. ภชิยเตติ ภาคฺยํ.
ภาชก : ป. ผู้แบ่ง, ผู้แจก
ภาชน : (นปุ.) การแจก, การจำแนก, ความแจก, ความจำแนก, วัตถุเป็นที่แบ่ง. ภชฺภาชเน, ยุ, ภาชฺ วา ปุถกมฺมนิ.
ภาเชติ : ก. แบ่ง, แจก, จำแนก
เภทกร : ค. ผู้แยก, ผู้แบ่ง
วิภงฺค : ป. การแบ่ง, การจำแนก
วิภชฺช : กิต. แบ่งแล้ว, จำแนกแล้ว
วิภชติ : ก. แบ่ง, จำแนก
วิภตฺต : กิต. แจกแล้ว, แบ่งแล้ว
วิภตฺติ : อิต. การแบ่ง, การแจก, การจำแนก
วิภาค : ป. การจำแนก, การแบ่ง
สมฺมาทิฏฐ : (อิต.) ความเห็นชอบ, ความเห็นโดยชอบ. วิ. สมฺมาทสฺสนํ สมฺมาทิฏฐ. ความเห็นโดยชอบคือโดยไม่วิปริต วิ. สมฺมา อวิปริตโต ทสฺสนํ สมฺมาทิฏฐ. ปัญญาอันเห็นชอบ, ปัญญาเห็นชอบ. สมฺมาปุพฺโพ, ทิสฺ เปกฺขเณ, ติ, ติสฺส ฏฐ, สฺโลโป. สัมาทิฆฐิ แบ่งเป็น ๒ คือ โลกิยสัมมาทิฏฐิ อย่าง ๑ โลกุตตรสัมมาทิฏฐิอย่าง ๑ อีกอย่างหนึ่ง สัมมาทิฏฐิ อย่างธรรมดา ได้แก่ ความเห็นที่ถูกต้องตามทำนองคลองธรรม เช่น เห็นว่าทำดี ได้ความดี ทำชั่วได้ความชั่ว พ่อ แม่ มีบุญคุณ เป็นต้น สัมมาทิฏฐิอย่างสูง ได้แก่ความเห็นอริยสัจ ๔.
สหกรณ : (นปุ.) การทำรวมกัน, การทำร่วมกัน, การร่วมมือกันทำ, สหกรณ์ คือการงานที่ร่วมกันทำ เป็นวิธีอย่างหนึ่งที่บุคคลหลายคนเข้าหุ้นกัน ร่วมมือกันเพื่อความเจริญในทางเศรษฐกิจ แล้วแบ่งผลประโยชน์แก่สมาชิกตามสิทธิเสมอกัน.
อปฺปฏิวิภตฺต : ค. ซึ่งไม่ถูกแบ่ง, ซึ่งไม่ถูกแจกจ่าย
อวตรติ : ก. หยั่งลง, แบ่งภาคลงมาเกิด
อวติณฺณ (โอติณฺณ) : กิต. หยั่งลงแล้ว, อวตารลงมาแล้ว, แบ่งภาคลงมาเกิดแล้ว
อวินิพฺภุชนฺต, อวินิพฺภุชต : กิต. ไม่แบ่งแล้ว ; ไม่สามารถรู้ได้แล้ว