Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: แป้งหมี่, แป้ง, หมี่ , then ปง, ปงหม, แป้ง, แป้งหมี่, หม, หมี่ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : แป้งหมี่, 69 found, display 1-50
  1. ปิฏฺฐ : นป. หลัง, ด้านหลัง; พื้น; แป้ง, ผง
  2. กกฺกุ : นป. แป้งผัดหน้า
  3. กิณฺณ : (นปุ.) พืชแห่งสุรา, ส่าเหล้า, แป้งข้าว หมาก, แป้งเหล้า. วิ. กิรนฺติ นานาทพฺพานิ มิสฺสี ภวนฺตยสฺสนฺติ กิณฺณํ. กิรฺ วิกิรเณ, โต, ณฺณาเทโส, รฺโลโป.
  4. กุฏฏ : ๑. ป. แป้ง, ผง; ๒. ค. บีบ, คั้น
  5. กุรุวินฺทก : ป. จุดสำหรับอาบ, แป้งผัดหน้าทาตัวหลังจากอาบน้ำแล้ว
  6. ขชฺชรี : (อิต.) อินทผลัม, ต้นแป้ง ก็ว่า.
  7. ขชฺชุรี ขชฺชูรี : (อิต.) อินทผลัม, ต้นแป้ง ก็ว่า. อี อิต.
  8. ขชฺชูร : (ปุ.) อินทผลัม, ต้นแป้ง ก็ว่า กัจฯ๖๗0 วิ. ขชฺชิตพฺโพ ขาทิตฺพฺโพ วาติ ขชฺชูโร. รูปฯ ๖๖๔ วิ. ขาทิตํ อลนฺติ ขชฺชูโร. ขชฺชฺ ภกฺขเณ, อูโร. อภิฯ ลง อุร ปัจ. เป็น ขชฺชุร.
  9. คนฺธจุณฺณ : นป. แป้งหอม
  10. จุณฺณก : นป. แป้งร่ำ, แป้งหอม
  11. ติลปิฏฺฐ : นป. แป้งงา, ขนมงา
  12. เตลสงฺคุฬิกวาท : (ปุ.) วาทะว่า ขนมระคน ด้วยงา, วาทะว่าขนมแตกงา ( ขนมทำด้วย แป้งคลุกด้วยงา).
  13. ปิญฺญาก : นป. แป้งที่ได้มาจากน้ำมันพืช
  14. ปิฏฺฐขาทนิย : นป. ของหวานที่ทำด้วยแป้ง
  15. ปิฏฺฐธีตลิกา : อิต. ตุ๊กตาแป้ง
  16. ปิฏฺฐปณฺฑิ (ฑี) : อิต. ก้อนแป้ง
  17. ปิฏฺฐมทฺท : ป. แป้งเปียก
  18. ปิฏฺฐสุรา : อิต. สุราทำด้วยแป้ง, สุราแป้ง
  19. ปิณฺฑธีตลิกา : อิต. ตุ๊กตาที่ทำด้วยแป้ง
  20. ปูป : (ปุ.) แป้ง, ขนม. วิ. ปูเรตีติ ปูโป, ปูรฺ ปูรเณ, โป, ธาตฺวนฺตสฺส โลโป. ปวียติ มริจชีรกาทีหิ ปวิตฺตํ กรียตีติ ปูโป วา. ปุ ปวเน, โป, ทีโฆ.
  21. มุขจุณฺณก : (นปุ.) เครื่องผัดหน้า, แป้งผัดหน้า.
  22. โมทก : (ปุ.) ขนมต้ม, ข้าวต้ม, แป้งข้าวหมัก?
  23. วาสิตก : นป. แป้งหอม
  24. สนฺเนติ : ก. ปน, นวดแป้ง, ผสมแป้ง
  25. สุณิ สุณฺณิก : (ปุ.) ผักโหมหัด, กุ่มบก, แป้งระมาด.
  26. อญฺชนจุณฺณ : ป. แป้งหอม
  27. อปูป : (ปุ.) แป้ง, ขนม. วิ.อการยุตฺโตปูโปอปูโป.ปูปศัพท์ลงออักษรข้างหน้าบางคัมภีร์ว่าลงอาอักษรแล้วรัสสะส.อปูปอปูปฺยอาปูปฺย.
  28. อปูป, อปูว : ป. แป้ง, ขนม
  29. หิม : (นปุ.) ความหนาว, ความเย็น, ฤดูหนาว, น้ำค้าง, หิมะ ชื่อละอองน้ำที่แข็งรัดตัว มีลักษณะเหมือนปุย. วิ. หึสตีติ หิมํ. หึสฺ หึสายํ, อ, สสฺส โม, นิคฺคหิตโลโป. อตฺตโน สีตลภาเวน สตฺเต หิโนตีติ หิมํ. หิ หึลายํ, อิโม. หิโนตีติ หิมํ. หิ คติยํ. อภิฯ ปถวีปพฺพตาทีสุ หิโนติ ปตตีติ หิโม. หิ คติยํ, โม. กัจฯ และ รูปฯ ลง ม ปัจ. และเป็น ปุ.
  30. เหม : (ปุ.) เหมะ ชื่อตระกูลช้างตระกูล ๑ ใน ๑๐ ตระกูล วิ. เหมวณฺณตาย เหโม.
  31. โหม : (ปุ.) ข้าวเทวดาอันบุคคลบวงสรวง วิ. หุยฺยเตติ โหโม. หุ หพฺยปฺปทาเน, โม, อุสฺโส. เครื่องบูชา, เครื่องเซ่น, เครื่องสังเวย, การบูชา, การบูชายัญ, การเซ่น, การเซ่นสรวง, การสังเวย. วิ.หวนํ โหโม. ส. โหม.
  32. กร : (ปุ.) บุคคลผู้ทำ, แขน, มือ, งวง, กาย, หมวด, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ, ฝูง. กรฺ กรเณ, อ. ส. กร.
  33. กลาป : (ปุ.) คณะ, ฝูง, หมู่, พวก, กอง, ประชุม. วิ. กลํ อวยวํ ปาตีติ กลาโป. กลปุพฺโพ, ปา รกฺขเณ, อ. ส. กลาป. กลาป
  34. คณ : (ปุ.) การนับ, การคำนวณ, หมวด, หมู่, ฝูง, พวก, ปนะชุม, หมู่แห่งภิกษุ, คณะ (กลุ่มชนกลุ่มหนึ่งๆ หรือแผนกหนึ่งๆของ มหาวิทยาลัย). วิ. คณียติ อวยเวน สหาติ คโณ. คณฺ สํขฺยาเณ, อ.
  35. คุมฺพ : (ปุ.) กอ, กอไม้, พง, พุ่ม, พุ่มไม้, ซุ้ม ไม้, สุมทุม (ซุ้มไม้ที่ปกคลุมด้วยต้นไม้ และเถาวัลย์) หมู่, พวก, ฝูง, ประชุม, กอง, คณะ, กลุ่มก้อน, กองทหาร, ขบวนทัพ, เสา. คุปฺ รกฺขเณ, โพ, ปสฺส โม. คุมฺพฺ คุมฺพเน วา, อ.
  36. คุฬิก : ๑. นป. หมู่, ก้อน; กลุ่ม; ห่วง, โซ่; ๒. ค. มีโซ่, มีห่วง
  37. จย : (ปุ.) การก่อ, การสะสม, การรวบรวม, ความสะสม, ความรวบรวม, ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ, หมวด, ดินที่ถม อุ. จโย ปริปตติ. ดินที่ถมพังทะลาย. จิ จเย, อ.
  38. ชาต : (ปุ. นปุ.) ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ. ชนฺ ชนเน, โต. แปลง ชนฺ เป็น ชา กัจฯ ๕๘๕ ว่า แปลงพยัญชนะที่สุดธาตุ เป็น อา.
  39. ตารา : (อิต.) ดาว, ดวงดาว, นักษัตร ( ดาว ฤกษ์มี ๒๗ หมู่). วิ. อกตฺตพฺพํ ตรนฺติ โลกา เอตายาติ ตารา. ตาเรติ วา โลกา อหิตโตติ ตารา. เต ปาลเน, โร อิตฺถิยํ อา.
  40. นว : (วิ.) ใหม่, สด, หนุ่ม. นุ ถุติยํ, โณ. อภิฯ ลง อ ปัจ. ส. นว, นวีน.
  41. นวก : (วิ.) ต้น, แรก, ใหม่, สด, หนุ่ม. นว+ ก สกัด
  42. นิกร : (ปุ.) ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, หมวด, คณะ. วิ. อวยวํ สมีเป กโรตีติ นิกโร. ส. นิกร.
  43. นิกาย : (ปุ.) ที่อยู่, เรือน. วิ. นิจิยฺยเตฉาทิยเตตี นิกาโย. นิปุพโพ, จิ จเย, โย. แปลง จิ เป็น กาในเพราะยปัจ. ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ, สภา, บริษัท, นิกาย ชื่อหมวด คัมภีร์ในพระสุตตันตปิฎก มี ๕ นิกาย คือ ๑. ทีฆนิกาย ๒. มัชฌิมนิกาย ๓. สังยุตตนิกาย ๔. อังคุตตรนิกาย และ ๕. ขุททกนิกาย ชื่อหมู่ชนผู้มีธรรมร่วม กันประพฤติธรรมร่วมกัน เช่น มหานิกาย. วิ. นิพฺพิเสเสน จิโนติ อวยเวติ นิกาโย. กุลํ สธมฺมีนํ สมานธมฺมานเมว ชนฺตูนํ คโณ นิกาโย นาม. ส. นิกาย.
  44. นิจย : (ปุ.) อันสะสม, อันรวบรวม, การสะสม, การรวบรวม, ความสะสม, ความรวบรวม, ฝูง, หมวด, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ นิปุพฺโพ, จิ จเย, อ. ส. นิจย.
  45. นิวห : (ปุ.) ฝูง, หมู่ พวก, ประชุม, กอง, คณะ. นิปุพฺโพ, วหฺ ปาปุณเน, อ. วิ. นิสฺเสสโต วหติ อวยวนฺติ นิวโห. ส. นิวห.
  46. นูตน : ค. ใหม่, สด
  47. ปพฺพ : (นปุ.) ข้อ, หัวข้อ, ข้อไม้, ปล้อง, ภาค, ส่วน, หมู่, ตอน, เล่ม, ปม, ดิถีเภท คือ วัน ไม่ดีทางโหราศาสตร์ แต่ทางพุทธศาสนา สอนว่า ดีหรือไม่ดีไม่ขึ้นอยู่กับวัน ขึ้นอยู่ กับการกระทำ. ปพฺพ ปูรเณ, อ.
  48. ปริสา : อิต. บริษัท, หมู่, คนรวมกัน
  49. ปิฬยฺหติ : ก. ห่ม, คลุม, ปิด, นุ่ง, ประดับ
  50. ปุญฺช, - ชก : ป. กอง, ก้อน, หมู่, พวก
  51. [1-50] | 51-69

(0.0453 sec)