ธีร : (วิ.) ผู้มีปัญญาเป็นเครื่องทรง, ผู้มีปัญญา วิ. ธี ปญฺญา อสฺส อตฺถีติ ธีโร. ร ปัจ, ธาเรตีติ วา ธีโร. ธา ธารเณ, โร, อาการสฺส อีกาโร. ผู้ถือเอาด้วยปัญญา วิ. ธิยา ปญฺญาย ราตีติ ธีโร. ธีปุพฺโพ, รา อาทาเน, อ. ผู้ชำนาญ, ผู้มั่นคง, ผู้แข็ง แรง. ฐา คตินิวุตฺติยํ, โร. แปลง ฐฺ เป็น ธฺ แปลง อา เป็น อี ส. ธีร.
อธิมตฺต : (วิ.) อันมีประมาณยิ่ง, มาก, แรง.
อุคาน : (นปุ.) การพัดขึ้น, ลมอุคาน (ลมพัด แรง). อุปุพฺโพ, คา คติยํ, ยุ.
กฏุก : ๑. นป., ป. ความเผ็ดร้อน, รสเปรี้ยว, รสขม, การบูน
๒. ค. แหลมคม, เข้มงวด, น่ากลัว, ขมขื่น, ร้ายแรง
กลฺลสรีร : ค. มีสรีระแข็งแรง, มีร่างกายแข็งแรง
กายกมฺม : (นปุ.) กรรมอันสัตว์ทำแล้วด้วยกาย, กรรมอันบุคคลทำแล้วด้วยกาย, วิ. กาเยน กตํ กมฺมํ กายกมฺมํ. การทำด้วยกาย วิ. กาเยน กมฺมํ กายกมฺมํ. กรรมอันไปแล้ว ในกายทวาร วิ. กายทฺวาเร ปวตฺตํ กมฺมํ กายกมฺมํ. กรรมทางกาย วิ. กาเยน กมฺมํ กายกมฺมํ. กายกรรม. กายกรรมที่ใช้ใน ภาษาไทย บางครั้งใช้ในความหมายว่าดัด ตนให้แข็งแรงด้วยท่าทางต่าง ๆ.
กาฬโรค : (ปุ.) โรคดำ, กาฬโรคชื่อโรคระบาด ร้ายแรงชนิดหนึ่งมักมีการบวมนูนที่รักแร้ เป็นต้น.
เกวล : (วิ.) เดียว, อย่างเดียว, ทั้งปวง, ทั้งมวล ทั้งหมด, ทั้งสิ้น, สิ้นเชิง, มาก, ส่วนมาก, จำนวนมาก,ไม่ระคน, ล้วน, ล้วนๆ, แข็งแรง ,มั่นคง, โดยมาก, ไกวัล. เกวฺ ชนเน, อโล.
ขิปนาวุธ : (นปุ.) อาวุธอันพุ่งไป, ขีปนาวุธ ชื่ออาวุธที่ใช้แรงอัดให้พุ่งไป เป็นอาวุธที่ มีการบังคับวิถีให้ไปตามทิศทางที่ต้องการ.
คาฬฺห : ก. วิ. มั่นคง, แข็งแรง, แน่นหนา
คิลายติ : ก. เมื่อย, อ่อนเพลีย, หมดแรง, เหนื่อย, ระบม, ไม่สบาย
โฆร : (วิ.) น่ากลัว, น่าสะพรึงกลัว, พิลึก, ไปเร็ว, ร้าย, ร้ายกาจ, ร้ายแรง, กึกก้อง, กล้า ( มาก แข็ง ), ร้อง, กล่าว. ฆรฺ ภิมตฺตสทฺเทสุ, โณ.
โฆรวิส : (วิ.) มีพิษร้ายแรง, มีพิษกล้า. วิ. วิสํ อสฺส โฆรนฺติ โฆรวิโส ณ ปัจฺ ราคาทิตัท.
จณฺฑโสต : ป. กระแสน้ำเชี่ยว, สายน้ำไหลแรง
จิงฺคุลิก : นป. กังหัน (สำหรับเล่น), เครื่องเล่นชนิหนึ่งทำด้วยใบตาลเป็นต้นซึ่งหมุนด้วยแรงลม
ถริ : (วิ.) มั่น, คง, มั่นคง, ตั้งมั่น, ยั่งยืน, แข็ง, แข็งแรง, คงที่. ฐา ถา วา คตินิวุตติยํ, อิโร. ถ้าตั้ง ฐา ธาตุ ก็แปลงเป็น ถา.
ถวิร : ค. ถาวร, มั่นคง, แข็งแรง, แก่
ถามคตทิฏฺฐิก : ค. ผู้มีทิฐิอันถึงความแข็งแรง, ผู้มีความเห็นผิดแรงกล้า
เถต : (วิ.) มั่น, คง, มั่นคง, แข็งแรง, แน่นอน, เป็นหลักฐาน. ฐา ถา วา คตินิวุตฺติยํ, โต. แปลง อา เป็น เอ ถ้าตั้ง ฐา พึงแปลง เป็น ถา.
ทกฺข : (วิ.) มีฝีมือ, ขยัน, ขันแข็ง, แข็งแรง, ฉลาด, สามารถ, เร็ว, ว่องไว, คล่องแคล่ว, ชำนาญ, เหมาะ, สันทัด. วิ. ทกฺขติ กุสลธมฺเม อญฺญสฺมิญฺจ กิจฺจากิจฺเจ อทนฺธตาย สีฆํ คจฺฉตีติ ทกฺโข. ทกฺขฺ วุฑฺฒิหึสาคติสีเฆสุ, อ. ทลฺ ทิตฺติยํ วา, โข, ลสฺส โก. ส. ทกฺษ.
ทฬฺห : (วิ.) มั่น, มั่นคง, แข็ง, แข็งแรง, สามารถ, ใหญ่, อ้วน, หยาบช้า, กักขฬะ, ยิ่ง(เพิ่มขึ้น เจริญขึ้น มากขึ้น). ล้ำ (ยิ่งนัก), นักหนา หนักหนา(มากยิ่งยิ่งนัก). ทหฺ ภสฺมี กรเณ, โฬ. เปลี่ยนอักษรคือเอา ฬ ไว้หน้า ห. ทลฺ. ทฬฺ วา วิทารเณ, โห. พหุ วุทฺธิยํ วา, โฬ. แปลง พ เป็น ท เอา ฬ ไว้หน้า ห. อภิฯ ลง อ ปัจ. และ ลฺ อาคม แปลง ลฺ เป็น ฬ ฎีกาอภิฯ ลง ฬฺ อาคม เอา ฬฺ ไว้หน้า ห.
ทฬฺห : อ. อย่างมั่นคง, อย่างแข็งแรง
ทฬฺหปหาร : ป. การประหารอย่างแรง, การทุบหรือตีอย่างแรง
ทฬฺหปาการ : ค. ปราการมั่นคง, มีกำแพงแข็งแรง
ทฬฺหึกมฺม, - กรณ : นป. การกระทำให้มั่น, การทำให้มั่นคงแข็งแรง
โทหฬายติ : ก. แพ้ท้อง, อยากอย่างแรง (สำหรับหญิงตั้งครรภ์)
นิชฺชิณฺณ : ค. ซึ่งแก่, ซึ่งคร่ำคร่า, ซึ่งหมดแรง
นิชิคึสติ : ก. ปรารถนาอย่างแรงกล้า, อยากได้
นิชิคึสิตุ : ค. ผู้ปรารถนาอย่างแรงกล้า, อยากได้
ปพล : ค. มีกำลังมาก, มีกำลังแข็งแรง, มีอำนาจ, สามารถ
ปพาฬฺห : ๑. กิต. (อันเขา) ชักออก, ดึงออก, มาแล้ว;
๒. ค. (อาการเจ็บปวดหรือป่วย) แรง, หนัก, เพียบหนัก
ปริยาทาติ : ก. เหนื่อยอ่อน, หมดแรง, ถือเอา, ควบคุม
ปริยาทาย : กิต. เหนื่อยอ่อนแล้ว, หมดแรงแล้ว, ถือเอาแล้ว, ควบคุมแล้ว
ปวฑฺฒ : ค. เจริญ, งอกงาม, ใหญ่, แข็งแรง
เผคฺคุก : ค. มีกระพี้, มีเปลือกนอก, อ่อน, ไม่แข็งแรง
พลฺย : นป. ความเป็นผู้มีกำลัง, ความแข็งแรง; ความโง่เขลา
พลว : (วิ.) มีกำลัง, แข็งแรง.
พลานีก : ค. ซึ่งมีทัพแข็งแรง, มีกำลังทหารแข็งแรง
พาฬฺห : อ. อย่างแข็งแรง, อย่างมั่นคง, อย่างมากมาย, อย่างหนักแน่น
ภูริ ภูรี : (วิ.) มาก, เจริญ, แข็งแรง, หนา, หนักหนา.
โยค : (วิ.) มั่นคง, แข็งแรง, ควร, สมควร, ชอบ, ถูก. ถูกต้อง. ยุชฺ สมาธิมฺหิ, โณ, ชสฺส โค.
วิภู : ๑. ป. ผู้เป็นแจ้ง, ผู้ครอง;
๒. ค.แข็งแรง, มีอำนาจ
สามตฺถ สามตฺถิย : (ปุ.) ความอาจ, ความองอาจ, ความสามารถ, ความแข็งแรง, อำนาจ, กำลัง.
สาหส : (วิ.) เป็นไปพลัน, ผลุนผลัน, ร้ายแรง, รุนแรง, เร็ว, พลัน, เร็วพลัน, ยิ่ง, นัก, ยิ่งนัก, สาหัส(หนักรุนแรง). สห (พล)+ ณ ปัจ. ลงในอรรถ ปภว สฺ อาคม.
อจล อจฺจล : (วิ.) ไม่ไหว, ไม่หวั่นไหว, มั่นคงแข็งแรง, ส. อจล.
อฏล : ค. แข็งแรง, มั่นคง
อติขีณ : ค. เมื่อยล้า, อ่อนแรง; หลุดไปจากแล่ง
อติโรค : (ปุ.) โรคร้ายแรง. ส. อติโรค ว่าโรคฝีในท้อง.อ
อติวาต : ป. ลมแรง, พายุ
อติฬาฬฺห : ค. หนักมาก, แข็งแรงยิ่ง