ชวติ : ก. วิ่ง, แล่น, รีบเร่ง, รีบร้อน
สนฺท : (วิ.) ไหล, ไหลออก, ไหลไป, แล่น, สนฺทฺ ปสเว, อ.
ชว : (วิ.) รับ, เร่ง, ด่วน, แล่นไป, ว่องไว, เชาว์. ส. ชว.
ชวน : (วิ.) เดินเร็ว, แล่นไป, เป็นที่แล่นไป, ฯลฯ.
ตุงฺคี : (ปุ.) เงื้อม งะเงื้อม ( สิ่งที่สูงง้ำออกมา), เชิงผา, กลางคืน, ขมิ้น, สิ่งที่แฉลบ เหมือนกบไสไม้ ? ตุชฺ หึสาสหเณสุ, อี.
ทิฏฺฐิสารี : ค. ผู้แล่นไปด้วยทิฐิ, ผู้ดำเนินตามความเห็นผิด
ธาวน : (นปุ.) การวิ่งไป, การแล่นไป, ความเจริญ, ธาวุ คติวุฑฺฒีสุ, ยุ.
ปกฺขนฺทติ : ก. แล่นไป, กระโดดไป
ปกฺขนฺทน : นป. การแล่นไป, การกระโดดไป
ปกฺขนฺที : ป. ผู้แล่นไป, คนขี้คุย, คนคุยโต
ปฏิสรติ : ก. แล่นกลับ, วิ่งกลับ, ถอยหลัง, ล้าหลัง; หวนระลึก, กลับคิดถึง, กล่าว
ปฏิสารี : ค. ผู้แล่นเข้าไปหา, ผู้ถือ, ผู้ยึดถือ (โคตร); ผู้รังเกียจกัน (ด้วยโคตร)
ภมน : (นปุ.) การหมุนไป, การแล่นไป, ความหมุนไป, ความแล่นไป. ยุ ปัจ.
มญฺชุ : (ปุ.) อ่อน, อ่อนหวาน, เป็นที่ชอบใจ, ไพเราะ, กลมเกลี้ยง, งาม, สวย, ดีนัก. มนฺ ญาเณ, ชุ. แปลง นฺ เป็น นิคคหิต แล้วแปลง นิคคหิต เป็น ญฺ หรือ วิ. มโน ชวติ อสฺมินฺติ มญฺชฺ. มน+ชุ ธาตุในความแล่นไป อุ ปัจ. อภิฯ และฎีกา ให้ลบ น?
สสรติ : ก. แล่นไป, ท่องเที่ยวไป
สาเรติ : ก. ระลึก, แล่นไป
เสทน : นป. การถ่ายออก, การแล่นไป
เสเทติ : ก. ถ่ายออก, แล่นไป
องฺคานุสารี : (ปุ.) ลมอันแล่นไปตามซึ่งอวัยวะทั้งปวงเป็นปกติ, ลมอันพัดไปตามอวัยวะทั้งปวงเป็นปกติ, ลมอันมีปกติแล่นไปตามอวัยวะทั้งปวง. วิเคราะห์ว่าสพฺพงฺเค อนุสรติ สีเลนาติ องฺคานุสารี.เป็นต้น.สพฺพงฺค บทหน้า อนุบทหน้าสรฺ ธาตุในความแล่นไป ณี ปัจ.ลบ.สพฺพ. แปลว่าลมพัดไปตามตัว โดยไม่ลงในอรรถสีลก็ได้.
อติสร : ค. มีความทุกข์ยิ่ง ; แล่นเลยไป
อติสรติ : ก. แล่นเลยไป, ฝ่าฝืน, บุกรุก
อติสาร : (ปุ.) โรคอันยังโลหิตให้แล่นไปยิ่ง, โรคลงแดง.ส.อติสาร
อภิธาวติ : ก. วิ่งตรงไป, แล่นไป, เร่งรีบ
อภิธาวี : ค. ผู้แล่นไป, ผู้เร่งรีบ; ซึ่งไหลไป
อากาสยาน : (นปุ.) ยานไปในอากาศ, ยานแล่นไปในอากาศ.
อุชฺชวนิกา : อิต. การแล่นทวนกระแส, การแล่นเรือทวนน้ำ
อุปธาวน : นป. การวิ่งเข้าไป, การแล่นเข้าไป, การจู่โจมเข้าไปหา
อุปาติธาสติ : ก. เหวี่ยงเข้าไป, แล่นเข้าไป
อุสฺสารณา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องยังบุคคลให้ ลุกขึ้นแล่นไป, หวายเป็นเครื่องยังบุคคลให้ลุก ขึ้นแล่นไป.
โอชวนิก : ค. ผู้แล่นตามน้ำ
โตลน : (นปุ.) การชั่งน้ำหนัก, การวัดกัน, การเทียบกัน, ตุลฺ อุมฺมาเณ, ยุ. ส. โตลน.
กณฺณจาลน : นป. การกระดิกหู
กิลน : (นปุ.) การผูก, การพัน, การรัด, การสาน. กิลฺ พนฺธเน, อ, ยุ.
ขมีลน : (นปุ.) ความลับ. ขมปุพฺโพ, อิลฺ คติยํ, ยุ.
คิลน : นป. การกลืนกิน
จาลน : (นปุ.) การยัง...ให้ไหว, ฯลฯ
เฉทนผาลนวิชฺฌนาทิ : (วิ.) มีอันตัดและอัน ผ่าและอันแทงเป็นต้น.
ตุลน : (นปุ.) การชั่ง, การวัด, ความเทียบ เคียง, ตราชู, ตราชั่ง, คันชั่ง, เครื่องชั่ง. ตุลฺ อุมฺมาเณ, ยุ.
ทาลน : นป. การผ่า, การแยก, การเซาะ, การแตก, การพัง, การทำลาย
นิมิลน นิมฺมีลน : (นปุ.) การกระพริบตา, การหลับตา. นิปุพฺโพ, มิลฺ มีลฺ วา นิมีลเน, ยุ.
ปกฺขลน : นป. การสะดุด, การถลา, การพลาด
ปทาลน : นป. การทำลาย, การทำให้แตก, การทำให้พัง
ปสุปาลน : นป. การเลี้ยงสัตว์
ผาลน : (นปุ.) การผ่า, ฯลฯ, การทำลาย. ผลฺ วิทารเณ, ยุ, ทีโฆ จ.
ผุล ผุลน : (นปุ.) อันสั่งสม, อันสะสม, อันรวบรวม, อันแผ่, อันขยาย, การสั่งสม, ฯลฯ, ความสั่งสม, ฯลฯ. ผุลฺ สญฺจเย ผรเณ จ, อ, ยุ.
เมลน : (นปุ.) การกอดรัด, ฯลฯ, การรวมกัน, การร่วมกัน, ความกอดรัด, ฯลฯ, ยุ ปัจ.
ลาลน : นป. การเล่นสนุก, การขับกล่อม
สมฺปทาลน : นป. การฉีก, การผ่า, การทำลาย
สีลน : นป. การฝึกหัด, การปฏิบัติ, การละเว้น