วิชิต : ๑. นป. แว่นแคว้น;
๒. กิต. ถูกชนะแล้ว
กาสิก : (นปุ.) กาสิกะ ชื่อแว่นแคว้น, ผ้าทอ ด้วยด้ายแกมไหม, กราสิกะ.
กาสิย : (นปุ.) ผ้าอันเกิดแล้วในแว่นแคว้น กาสี วิ. กาสีสุ ชนปเทสุ ชาตานิ กาสิยานิ. อิย ปัจ. เวสฯ ๓๕๗. กาสุ
ทกฺขิณชนปท : ป. ชนบทฝ่ายใต้, แว่นแคว้นทางใต้
มาคธ : (วิ.) ผู้เกิดแล้วในแว่นแคว้นมคธ, ผู้อยู่ในแว่นแคว้นมคธ, ผู้เป็นอิสระในแว่นแคว้นมคธ. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
รฏฺฐ : (ปุ.) คนอยู่ในแว่นแคว้น, ชาวเมือง, ราษฎร.
รฏฺฐวาสี, รฏฺฐิก : ค. ผู้อยู่ในรัฐ, ผู้อยู่ในแว่นแคว้น
อาทาส, - สก : ป. กระจก, แว่น, คันฉาย, คันส่อง
เขตต : (นปุ.) ภริยา, สรีระ, ตน, แดน, แคว้น, นา, ไร่, ไร่นา, ที่, ที่ดิน, ทุ่ง, ทุ่งนา, เขต. วิ. พีชานิ ขิปิยนฺตีติ เขตฺตํ. พีชานิ ขิปนฺตฺ- ยสฺมินฺติ วา เขตฺตํ. ขิปฺ เปรเณ, โต, ปการสฺส ตตฺตํ. ขิตฺตํ พิชํ มหปฺผลภาวกร- เณน ตายตีติ วา เขตฺตํ. ขิตฺตปุพฺโพ, ตา ปาลเน, โต, อิสฺเส, ตการทฺวยโลโป (ลบ ตฺต แห่ง ขิตฺต) ที่แปล เขตฺต ว่า ภริยานั้น เพราะเป็นที่งอกงามของพืช คือ บุตร. ส. กฺษตร.
วน : นป. ป่า
ทปฺปณ ทปฺปน : (นปุ.) แว่น, กระจก, วิ. ทิปฺปติ เอตฺถาติ ทปฺปโณ ทปฺปโน วา. ทิปฺ ทิตฺติยํ, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ เป็น ทิปฺย แปลง ปฺย เป็น ปฺป ยุ เป็น อน ศัพท์ต้น แปลง น เป็น ณ.
รฏฺฐาธิป : (ปุ.) บุคคลผู้เป็นใหญ่แห่งแว่นแค้วน, บุคคลผู้เป็นใหญ่แห่งบ้านเมือง, พระราชา, พระเจ้าแผ่นดิน.
อาทาส : (ปุ.) แว่น, กระจก, กระจกเงา, กระจกส่องหน้า. คันฉ่องชื่อเครื่องส่องหน้าหรือกระจกเงา มีกรอบสองชั้นเอนเข้าเอนออกได้ตั้งอยู่บนโต๊ะเครื่องแป้ง.วิ.อาทิสฺสเตอสฺมินฺติอาทาโส.อาปุพฺโพ, ทิสฺเปกฺขเณ, โณ.ส. อาทรฺศน.
กุรู, - รุ : ป. ชาวแคว้นกุรุ, แคว้นกุรุ
โกรพฺย, - วฺย : ค., ป. ผู้เป็นเหล่ากอแห่งกุรุ, ผู้สืบเชื้อสายมาแต่เผ่ากุรุ; เป็นชาวแคว้นกุรุ; เหล่ากอแห่งกุรุ, ชาวแคว้นกุรุ
โขมทุสฺส : นป. ผ้าลินิน, ผ้าเปลือกไม้; ชื่อหมู่บ้านตำบลหนึ่งในแคว้นสักกะ
คิริคพฺพช : นป. ชื่อเมืองหลวงเก่าของแคว้นมคธ
จมฺปก : (ปุ.) จำปา, ต้นจำปา, จำปาเทศ, จัมปกะ ชื่อเมืองในแคว้นมคธ.
โจฬรฏฺฐ : นป. แคว้นโจฬะ, ชื่อแคว้นหนึ่งในอินเดียตอนใต้
โจฬิย : ค. ซึ่งอยู่ในแคว้นโจฬะ, ซึ่งมีในแคว้นโจฬะ, ซึ่งเนื่องด้วยแคว้นโจฬะ, เป็นชาวแคว้นโจฬะ
ทกฺขิณนิกาย :
(ปุ.) นิกายฝ่ายใต้, ทักษิณ นิกายชื่อนิกายสงฆ์ฝ่ายใต้ ( เอาแคว้นมคธ ของชมพูทวีป ( อินเดีย ) เป็นศูนย์กลาง การนับ ) คือนิกายหินยาน ( หีนยาน ) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า เถรวาท. ดู เถรวาท ด้วย.
ทปฺปณ : นป. กระจกเงา, แว่นส่อง
ทพฺพิโหม : นป. การบูชาไฟโดยใช้ทัพพีตักของเทลงในไฟ, พิธีเบิกแว่นเวียนเทียน
ธมฺมาทาส : ป. แว่นธรรม
ธูมกฏฉฺฉุ : (ปุ.) ทัพพีตักควัน, แว่นเวียนเทียน.
ปพฺพตรฏฺฐ : นป. แคว้นซึ่งตั้งอยู่บนภูเขา, ชื่อแคว้นหนึ่งซึ่งตั้งอยู่กลางแคว้นวิเทหะ
ปาฏลิปุตฺต : นป. เมืองปาฎลิบุตรในแคว้นมคธ
ปาวา : อิต. เมืองหลวงของแคว้นมัลละ; เสื้อคลุม; ต้นมะม่วง
ผุสฺสรถ : ป. รถที่เทียมด้วยม้าขาวของพระเจ้าจักรพรรดิ ซึ่งถูกปล่อยไปเพื่อแสดงแสนยานุภาพ, รถประจำแคว้น
วงฺค : ป. ชื่อแคว้นหนึ่งในอินเดีย; ชื่อโรคชนิดหนึ่ง
วชฺชี : ป. ชื่อแคว้น
สาวตฺถี : อิต. เมืองหลวงของแคว้นโกศล
สุรเสน : (ปุ.) สุรเสนะ ชื่อแคว้นอยู่ระหว่างแม่น้ำสินธุกับยมุนา มีราชธานีชื่อ มถุรา.
อวนฺติ : ป. ชื่อแคว้นหนึ่งในอินเดีย
อสฺสก : (นปุ.) อัสสกะชื่อแคว้นในอินเดียโบราณ เมืองหลวงชื่อโปตนะ.
อิสิคิลิ : ป. ชื่อภูเขาในแคว้นมคธ
กณฺฑุ (ฑู) วน : นป. การข่วน, การเกา, ความรู้สึกคัน
ตป (โป) วน : นป. สถานที่ควรแก่การบำเพ็ญตบะ, ป่าของผู้บำเพ็ญพรต
วนกมฺมิก : ป. ผู้ทำงานอยู่ในป่า
วนกุกฺกุฏ : ป. ไก่ป่า
วนคหน : นป. ป่าชัฏ
วนคุมฺพ : ป. พุ่มไม้
วนมลฺลิกา : อิต. มะลิวัลย์
ชีวน : (นปุ.) น้ำ, ความเป็นอยู่, ความเลี้ยง ชีวิต, การเลี้ยงชีวิต. ชีวฺ+ยุ ปัจ. ส. ชีวน.
ทนฺตปวน : (นปุ.) ยาสีฟัน. ทนฺต+ปุ+ยุ ปัจ. พฤทธิ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อว. ส. ทนฺตปาวน.
อาชีวน : (นปุ.) ความเป็นอยู่, ฯลฯ. ส.อาชีวน.
อาวฏฺฏ : (วิ.) กลม, วน, วนเวียน (ห้วงน้ำที่ หมุนวน). วิ. อาวฏฺฏนฺติ ชลานิ อเตฺรติ อาวฏฺโฏ. อาปุพฺโพ, วฏฺฏฺ วตฺตฺ วา วตุ วา วตฺตเน, อ.
กฏจฺฉุปริสฺสาวน : (นปุ.) ผ้าสำหรับกรองน้ำ มีรูปคล้ายช้อน.
กณฺฑุวน กณฺฑูวน : (นปุ.) ความคัน, โรคคัน, โรคกลาก. กณฺฑฺ เภทเน, ยุ, อสฺสุวาเทโส (แปลง อ เป็น อุว) ศัพท์หลังทีฆะ.