ลกฺข : นป. เครื่องหมาย, รอย, ที่หมาย, เป้า; แสน
สตสหสฺส : นป. แสน
กปฺปสตสหสฺสปูริตปารมี : (วิ.) ผู้มีบารมีอัน ให้เต็มแล้วตลอดแสนแห่งกัป. เป็น ทุ.ตัป. มี ฉ.ตัป. และ ต.ตุล. เป็นท้อง.
จตุราสีติโยชนสตสหสฺสุพฺเพธ : (วิ.) มีแสนแห่ง โยชน์แปดสิบสี่เป็นส่วนสูง, สูงแปดสิบสี่ แสนโยชน์, สูงแปดโกฏิสี่แสนโยชน์.
ทสสตสหสฺส : (นปุ.) แสนสิบ, แสนสิบหน, สิบแสน, ล้าน, ล้านหนึ่ง, หนึ่งล้าน. วิ. สตสหสฺสสฺส ทสคุณิตํ ทสสตสหสฺสํ (การคูณด้วยสิบแห่งแสนชื่อว่าล้าน). ลบ คุณิต แล้วแปร ทส ไว้หน้า . รูปฯ ๔๐๐.
เทฺวอสีติญาติกุลสหสฺส : (นปุ.) พันแห่งตระกูลแห่งพระญาติแปดสิบสองหน (แสนหกหมื่นตระกูล). เป็น อ. ทิคุ มี ฉ. ตัป., ฉ. ตัป. ผละ อ. ทิคุ เป็น ภายใน.
ภิกฺขุสตสหสฺสปริวาร : (วิ.) มีแสนแห่งภิกษุเป็นบริวาร. เป็น ฉ. ตลุ. มี ฉ. ตัป. เป็น ท้อง.
โสคนฺธิก : (นปุ.) โสคันธิกะ ชื่อมาตรานับร้อย คูณแสน อัฎฎะ. เลข ๑ มีสูญ ๙๑ สูญ.
อฏฺฐาวุธ : (นปุ.) อาวุธแปด อัษฎาวุธ อาวุธ แปด คือ พระแสงหอกเพชรรัตน์ พระ แสงดาบเชลย พระแสงตรี พระแสงดาบ และเขน หรือ พระแสงดาบและโล่ พระ แสงธนู พระแสงของ้าวแสนพลพ่าย และพระแสงปืนคาบชุดข้ามแม่น้ำสะ โตง.
อฏฺฐาวุธ : (นปุ.) อาวุธแปดอัษฎาวุธอาวุธแปดคือพระแสงหอกเพชรรัตน์พระแสงดาบเชลยพระแสงตรีพระแสงดาบและเขนหรือพระแสงดาบและโล่ พระแสงธนูพระแสงของ้าวแสนพลพ่าย และพระแสงปืนคาบชุดข้ามแม่น้ำสะโตง.
อนีนาฆเสส : (วิ.) เจ็ดแสนเจ็ดหมื่นเจ็ดพันพระองค์.
อนีนานุสิม : (วิ.) ห้าแสนพระองค์.
อนีนาสุหล : (วิ.) สามแสนแปดหมื่นเจ็ดพันพระองค์.
อพพ : (นปุ.) อพพะชื่อมาตรานับเท่ากับแสนคูณด้วยร้อย.อวฺรกฺขเณ, โว, พการาเทโส, พฺสํโยโค.สตฺตสตฺตติพินฺทุสหิตาเอกา เลขาอพพํ.
อพฺพุท : (นปุ.) อัพพุทะชื่อสังขยาจำนวนหนึ่งคือร้อยแสนพินทุเป็น ๑ อัพพุทะหรือโกฏิมีกำลัง ๘.อพฺพฺหึสาคติมฺหิ, โท, อสฺสุ(แปลงอเป็นอุ).ฉปฺปณฺญาสพินฺทุสหิตาเอกาเลขาอพฺพุทํ.
ลาส, - สน : นป. การละเล่น, กีฬา, การฟ้อนรำ
ธมฺมาสน : (นปุ.) ที่เป็นที่นั่งแสดงซึ่งธรรม, ที่สำหรับนั่งแสดงธรรม, อาสนะเป็นที่ แสดงซึ่งธรรม, ธรรมาสน์ (ที่สำหรับภิกษุสามเณรนั่งแสดงธรรม). วิ. ธมฺมํ เทเสนฺโต อาสิ เอตฺถาติ ธมฺมาสนํ. ส. ธรฺมาสน.
นิวสน : (นปุ.) การนุ่ง, การห่ม, การนุ่งห่ม. นิปุพฺโพ, วสฺ อจฺฉาทเน, ยุ. ส. นิวสน.
ปริยุปาสน : (นปุ.) การนั่งใกล้. ปริ + อุปาสน ยฺ อาคม.
สทสฺสน : (นปุ.) การเห็นได้โดยง่าย, ความเห็นได้โดยง่าย. สุข+ทสฺสน, การเห็นได้ด้วยดี, ความเห็นได้ด้วยดี. สุฏฺฐุ+ทสฺสน.
สมฺมสนญาณ : (นปุ.) ความรู้ในการพิจารณารูปและนามเป็นไตรลักษณ์, ญาณในการพิจารณารูปและนามโดยความเป็นไตรลักษณ์. การกำหนดขันธ์ ๕ คือ ...อาตยนะ ภายใน ๖ คือ ... และชาติโดยความเป็นของไม่เที่ยงโดยความเป็นทุกข์โดยความเป็นอนัตตา เรียกว่าสัมมสนญาณ ไตร. ๓๑ ข้อ ๙๙.
สมสน : (นปุ.) การย่อ, สํปุพฺโพ, อสุเขปเน. ยุ. ส. สมสน.
สุน : (ปุ.) สุนัข, หมา. สุนฺ คติยํ สทฺเท วา, อ. ส. ศุน.
สูณ สูน : (ปุ.) สุนัข, หมา. สุนฺ คติยํ, อ, ทีโฆ. สุ สวเน วา, ยุ. ศัพท์ต้นแปลง น เป็น ณ อภิฯ.
หึสน : (นปุ.) การเบียดเบียน, ฯลฯ. ยุ อ ปัจ. ส. หึสน, หึสา.
อธิวาสนขนฺติ : (อิต.) ความอดทนด้วยอันรับ, ความอดทนด้วยความอดกลั้น, ความอดทนอย่างยิ่งยวด, อธิวาสนขันติชื่อความอดทนอย่างสูงคือความอดทนต่อความกระทบกระทั่งของคนที่ด้อยกว่าจะเป็นทางใดก็ตามด้วยการลดทิฐิมานะของตนลงเสีย.
กณฺณวิภูสน กณฺณเวฐน : (นปุ.) เครื่องประดับหู, ตุ้มหู.
กตุปาสน : ค. ผู้ชำนาญในการยิงลูกศร, นายขมังธนู
กทสน กทสฺสน : (นปุ.) อาหารอันบัณฑิต เกลียด วิ. กุจฺฉิตํ อสนํ กทสนํ กทสฺสนํ วา, ลบ จฺฉิต แปลง กุ เป็น กท.
กมฺพลสิลาสน : นป. กัมพลศิลาอาสน์, แท่นหินที่ปูลาดด้วยผ้ากัมพลใช้เป็นที่ประทับของท้าวสักกะ
กมฺมกริยาทสฺสน : นป. ความเห็นในการกระทำกรรม, ทัศนะในการทำงาน
กมลาสน : (ปุ.) กมลาสน์ ชื่อของพระพรหม, พระพรหม (มีดอกบัวเป็นที่นั่ง) วิ. กมลํ อาสนํ ยสฺส โส กมลาสโน.
กลฺยาณทสฺสน : ค. น่าดู, น่ารัก, งาม
กายทุจฺจริตาทิปเวสนนิวารณตฺถาจาร : (วิ.) ผู้มีอาจาระอันเกียดกันเสีย ซึ่งความเข้าไปแห่งความประพฤติชั่วมีความประพฤติชั่ว ด้วยกายเป็นต้นเป็นประโยชน์. เป็น ฉ. ตุล. มี ต. ตัป. ฉ. ตุล, ฉ. ตัป. ทุ. ตัป. และ ฉ. ตุล. เป็นท้อง.
กิลิสฺสน : นป. ความเปียก, ความชุ่ม, ความเศร้าหมอง, ความไม่บริสุทธิ์
ขุสน : นป. การด่า, การบริภาษ
คเวสน : นป. คเวสนา อิต. การแสวงหา, การค้นหา
คีตวาทิตวิสูกทสฺสน : (นปุ.) การขับและการประโคมและการดูการเล่นอันเป็นข้าศึก (แก่กุศล).
ฆตาสน : ป. ไฟ
ฆสน : นป. การขัด, การสี, การถู, การบด
ฆาเสสน : นป., ฆาเสสนา อิต. การแสวงหาอาหาร
โฆรทสฺสน : ป. นกเค้า
โฆรราสน : ป. สุนัขจิ้งจอก
โฆสน : (นปุ.) การประกาศ, ฯลฯ, โฆษณา, (การประกาศให้รู้กันทั่วๆ ไป) วิ. ฆุสนํ สทฺทนํ โฆสนํ โฆสนา วา.
จารุทสฺสน : ค. ซึ่งดูเป็นที่พอใจ, น่าดู, น่ารัก, มีเสน่ห์