Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: แหล่ง , then หลง, แหล่ง .

ETipitaka Pali-Thai Dict : แหล่ง, 53 found, display 1-50
  1. ปฏฺฐาน : นป. การเริ่มตั้งไว้, การตั้ง, การเริ่มต้น; จุดตั้งต้น, แหล่ง, เหตุ; ชื่อคัมภีร์ที่ ๗ แห่งอภิธรรมปิฎก
  2. กมลากร : นป. แหล่งบัว, สระน้ำ
  3. ฐาน : นป. ฐานะ, การตั้งอยู่, การดำรงอยู่, การหยุดอยู่, ที่ตั้ง, หลักแหล่ง, ตำแหน่ง, เหตุ, โอกาส
  4. อิราวต : (ปุ.) แหล่งของน้ำ, ที่อยู่ของน้ำ, ทะเล, เมฆ. อิราปุพฺโพ, วสฺ นิวาเส, อ, สสฺส โต.
  5. อุพฺพาสียติ : ก. อันเขาไม่ตั้งหลักแหล่ง, อันเขาไม่ทอดทิ้ง
  6. มุสฺสติ : ก. ลืม, หลง
  7. มุฏฺฐสฺสตี : ค. หลง ๆ ลืม ๆ
  8. มุทฺธ : (วิ.) เขลา, โง่, หลง. มุหฺ เวจิตฺเต, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบ หฺ.
  9. มุยฺหติ : ก. หลง
  10. โมห : (วิ.) เขลา, โง่, หลง. มุหฺ เวจิตฺเต, โณ.
  11. วิโมเหติ : ก. หลง
  12. กามมุจฺฉา : อิต. ความลุ่มหลงในกาม
  13. ชีวิตมท : ป. ความมัวเมาในชีวิต, ความหยิ่งในชีวิต, ความหลงในชีวิต
  14. ทิสามูลฬฺห : ค. ผู้หลงในทิศ, ผู้หลงทาง
  15. ปปญฺจสงฺขา : อิต. ธรรมที่นับว่าเป็นเครื่องทำให้เนิ่นช้า, ธรรมที่เป็นส่วนแห่งความเนิ่นช้า, เครื่องหมายแห่งความลุ่มหลง
  16. ปปญฺจิต : ๑. กิต (อันเขา) ให้เนิ่นช้า, ให้หน่วงเหนี่ยว, ให้ล่วงแล้ว; ๒. นป. ความเนิ่นช้า, ความคิดฟุ้งเฟ้อ, ความหลงผิด
  17. ปปญฺเจติ : ก. ทำให้เนิ่นช้า, ชักช้า, ให้พิสดาร, กล่าวให้เยิ่นเย้อ, ทำให้ฟั่นเฝือ, อธิบาย, หลงผิด
  18. ปมาที : ค. ซึ่งทำให้มัวเมา, ซึ่งทำให้ลุ่มหลง
  19. ปมุจฺฉิต : ค. เป็นลมสลบ; มัวเมา, ลุ่มหลง, สยบ
  20. ปมุยฺหติ : ก. ลุ่มหลง, มัวเมา
  21. ปมูฬฺห : ค. ผู้ลุ่มหลง, ผู้มัวเมา
  22. ปโมห : ป. ความลุ่มหลง, ความมัวเมา
  23. ปโมหก : (วิ.) ผู้ทำให้หลง. ปโมหปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, กวิ.
  24. ปโมหน : นป. การหลอกลวง, ความหลงผิด
  25. ปโมเหติ : ก. หลอกลวง, ให้ลุ่มหลง, ล่อให้หลง
  26. ปุถุชฺชน : ป. ปุถุชน, คนธรรมดา, คนสามัญ, คนต่ำ, คนหลง
  27. มคฺคมุฬฺห : ป. คนหลงทาง
  28. มหากิริยา : (อิต.) มหากิริยา ชื่อของการกระทำของพระอรหันต์ พระอรหันต์ท่านทำอะไร ก็ทำด้วยจิตบริสุทธิ์ ไม่มีโลภ โกรธหลง ไม่ยึดเอาเป็นบุญเป็นบาป จึงเรียกว่า มหากิริยา.
  29. มุฏฺฐ : กิต. หลงแล้ว, ลืมแล้ว
  30. มุฏฺฐสจฺจ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีสติอันเผลอแล้ว, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีสติอันลืมแล้ว, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีสติอันหลงแล้ว, ความเป็นคนเผลอสติ, ฯลฯ. มุฏฺฐ+สติ+ณฺย ปัจ. ลบ อิ แปลง ตฺย เป็น จฺจ.
  31. มุณฺห : (วิ.) หลง, เขลา, โง่. มุหฺ เวจิตฺเต, ยุ.
  32. มุฬฺห : (ปุ.) ความหลง, ความเขลา, ความโง่. มุหฺ เวจิตฺเต, โฬ. กลับอักษร เอา ฬ ไว้หน้า ห.
  33. โมมูห : (ปุ.) ความหลงใหล, ความหลงมาก, ความหลงเลอะ, ความโง่เขลา, ความโง่เง่า. มุหฺ เวจิตฺเต, โณ. เท๎วภาวะ มุ แปลง อุ เป็น ทีฆะ อุ ที่ มุ ตัวธาตุ.
  34. โมหกฺขย : ป. สิ้นความหลง
  35. โมหตม : ป. ความมืดคือความหลง
  36. โมหนฺธ : (ปุ.) ความมืดด้วยความหลง, ความมืดมน.
  37. โมเหติ : ก. หลอกลวง, ให้หลง, ทำให้ผิดทาง, ตบตา
  38. วิตณฺฑวาท : ป. พูดให้หลงเชื่อ
  39. สมถ : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องระงับ, ธรรมยังนิวรณ์ห้า มี กามฉันท์ เป็นต้นให้สงบ. วิ. กามฉนฺทาทิกํ ปญฺจนิวรณํ สเมตีติ สมโถ. สมุ อุปสเม. โถ แปลง อุ เป็น อ. ความสงบ, ความระงับ, ความสงบระงับ. วิ. สมนํ สมโถ. สมาธิ, สมถะ, ชื่อว่า สมถะ เพราะอรรถว่าไม่ฟุ้งซ้าน อวิกฺเขปฏเฐน สมโถ. สมถุ ชื่อของภาวนาอย่างที่ ๑ ในภาวนา ๒ เป็นอุบายสงบใจ เป็นวิธีทำใจให้สงบหลบทุกข์ไปได้ชั่วคราวมีผลเพียงให้กิเลสอย่างกลางระงับไปชั่วคราว ที่ท่านเปรียบไว้ว่าเหมือนเอาหินทับหญ้าเท่านั้น เมื่อเอาหินออก หญ้าก็งอกงามตามเดิม แต่ก็ยังผู้ปฏิบัติให้หลงไปว่าได้บรรลุโลกุตรธรรมเป็นพระอริยบุคคลไปก็มี เมื่อหลงไปเช่นนี้ก็เป็นอันตรายแด่พระพุทธศาสนาเหมือกัน. คำ สมถะ ไทยใช้ในความหมายว่า มักน้อย ปฏิบัติตนปอน ๆ.
  40. สมฺมุจฺฉติ : ก. หลงรัก
  41. สมฺมุยฺหติ : ก. หลง, ลุ่มหลง
  42. สมฺมุฬฺห : กิต. หลงแล้ว, ลุ่มหลงแล้ว
  43. สโมห : ค. หลงรัก, มีความลุ่มหลง
  44. สาเฐยฺย สาเถยฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้โอ้อวด, ความเป็นคนโอ้อวด, ความโอ้อวด, ความกระด้าง, สาไถย. สฐ+ณฺย ปัจ. ศัพท์หลัง แปลง ฐ เป็น ถ สาไถย ไทยใช้ในความว่า การทำมารยาให้ผู้อื่นเข้าใจผิดหลงผิด หรือการพูดเป็นเหลี่ยมเป็นคู. ส. คาฐฺย.
  45. สาตฺต : กิต. กำหนัด, ยินดี, หลงรัก
  46. อญฺญาณี : (ปุ.) คนหลง, คนเขลา, คนโง่, คนพาล.
  47. อมูฬฺห : ค. ผู้ไม่หลง
  48. อโมห : (วิ.) ไม่มีความหลง, ไม่โง่เขลา, มีปรีชา
  49. อวิชฺชา : (อิต.) ความไม่รู้, ความไม่รู้จริง, ความหลงคือไม่รู้จริง, ความเขลา, อวิชชา(ความไม่รู้อริยสัจ ๔).นปุพฺโพ, วิทฺ ญาเณ, โณย, ทฺยสฺสชโช.
  50. อสมฺโมส, - โมห : ป. ความไม่หลงลืม, ความมีสติ, ความไม่หลงงมงาย
  51. [1-50] | 51-53

(0.0069 sec)