Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: แอก , then อก, แอก .

ETipitaka Pali-Thai Dict : แอก, 80 found, display 1-50
  1. ยุค : (ปุ.) คราว, สมัย, กัปป์ (ยุค), ยุค, แอก, คู่. กำหนดเวลาของโลกมี ๔ ยุค คือ กฤดายุค ไตรดายุค ทวาปรยุค และกลียุค. ยุคที่อยู่กันนี้เป็นกลียุค เป็นยุคเสื่อมกว่ายุคก่อนๆ.
  2. อก : (อัพ. นิบาต) ไม่, ไม่ควร, อย่า.ปฏิเสธ นตฺถนิปาต.ส.ใช้เป็นอุปสรรคและอุทานแสดงความสงสาร.
  3. กพฺพร : (ปุ.) ทูบ ชื่อไม้แม่แคร่เกวียนที่ยื่น ออกไปติดกับแอก, หัวเกวียน. วิ. กํปฐวึ วุโนติ ฉาทยตีติ กุพฺพโร. กุปุพฺโพ, วุ สํวรเณ, โร อสฺสตฺตํ, วสฺส โพ (แปลง อุ ที่ วุ เป็น อ แปลง ว เป็น พ), พฺสํโยโค.
  4. ธุรนิกฺเขป : ป. การเลิกงาน, การทอดทิ้งธุระ, การสลัดแอก
  5. ธุรโยตฺต : นป. เชือกผูกแอก
  6. ธุรวหน : นป. การนำแอกหรือภาระหน้าที่
  7. ธุรวาทหี : (ปุ.) สัตว์ผู้นำไปซึ่งแอก, ฯลฯ, สัตว์ผู้นำไปซึ่งของหนัก, ฯลฯ, โคใช้งาน, วัว, ควาย, ดู ธมฺมจารี ประกอบ. ธุร+วหฺ+ ณี ปัจ.
  8. ยุคนงฺคลาทิ : (วิ.) (อุปกรณ) มีแอกและไถ เป็นต้น.
  9. ยุคนทฺธ : ๑. นป. เชือกผูกแอก; ๒. ค. ซึ่งผูกติดกับแอก
  10. ยุคมตฺตทสฺสิตา : (อิต.) ความที่แห่งตนเป็นผู้มีปกติแลดูตลอดที่มีแอกหนึ่งเป็นประมาณ, ความเป็นผู้มีสายตาทอดไปข้างหนึ่งชั่วแอก เป็นกิริยาสำรวมของภิกษุไม่มองล็อกแล็กไปทางโน้นทางนี้.
  11. อกรณียกิจฺจ : (นปุ.) กิจอัน....ไม่พึงทำ, กิจอัน....ไม่ควรทำ, อกรณียกิจ.กิจอันบรรพชิตไม่ควรทำ (ทำไม่ได้) มี๔ อย่าง.ความเป็นจริงกิจที่บรรพชิตไม่ควรทำทั้งสิ้น ชื่ออกรณียกิจ ที่ท่านยกขึ้นกล่าวเพียง ๔ อย่างนั้นกล่าวเฉพาะข้อที่สำคัญซึ่งล่อแหลมต่อการขาดจากความเป็นบรรพชิตและเพื่อให้เหมาะแก่เวลาเมื่ออุปสมบทเสร็จ.อกรณียกิจของคนทั่วไปได้แก่ กายทุจริต วจีทุจริต และมโนทุจริต.
  12. อกโขภ : ค. ซึ่งไม่กระเพื่อม, ไม่หวั่นไหว
  13. อกติ : ก. คด, งอ, บิดไปบิดมา
  14. อกนิฏฺฐ : (วิ.) ไม่น้อย, สูงสุด, สูงที่สุด, ใหญ่ที่สุด.
  15. อกนิฏฺฐกาอกนิฏฺฐเทวตา : (อิต.) เทวดาชั้นอกนิษฐ์.
  16. อกรณ : (นปุ.) การไม่ทำ, การงดเว้น, ความไม่ทำ. ความงดเว้น, นปุพฺโพ, กร. กรเณ, ยุ. น บทหน้า กรฺ ธาตุในความทำ ยุ ปัจ.
  17. อกรมฺหา, อกรึ, อกริตฺถ : ก.ได้กระทำแล้ว
  18. อกริสฺส : ก. จักได้ทำแล้ว
  19. อกโรนฺต : กิต., ค. ไม่ทำอยู่, เมื่อไม่ทำ
  20. อกลุ : (นปุ.?) กำยาน, กฤษณา, สารขาว.
  21. อนฺตรส : ป. ระหว่างไหล่ทั้งสอง, อก
  22. อิก อิกฺก : (ปุ.) หมี. อิจฺ สุติยํ ถุติยํ วา, อ, จสฺส โก. ศัพท์หลังซ้อน กฺ.
  23. เอก : (วิ.) หนึ่ง, อย่างหนึ่ง, เดียว, ผู้เดียว, คนเดียว, ไม่มีเพื่อน, โดดเดียว, โดดเดี่ยว, วังเวง, เยี่ยม, ยอด, ยอดเยี่ยม, ประเสริฐ, สูงสุด, นอกนี้, ต่างหาก, เดียวกัน, เช่น เดียวกัน, แนวเดียวกัน, เป็นหนึ่ง, อื่น (คือ อีกคนหนึ่ง อีกพวกหนึ่ง อีกสิ่งหนึ่ง). อิ คมเน, ณฺวุ, อิสฺเส. วิ. เอติ ปวตฺตตีติ เอโก. เอกศัพท์นี้เป็นปกติสังขยาและวิเสสนสัพพ นามที่เป็นสังขยา (การนับ) เป็นเอกวจนะ อย่างเดียวที่เป็นวิเสสนสัพพนาม เป็น เอก. และ พหุ. เมื่อต้องการเป็นพหุ. พึงใช้ เป็นวิเสสนสัพพนาม และแปลว่าคนหนึ่ง, คนเดียว คนเดียวกัน พวกหนึ่ง ฯลฯ พึงยัก เยื้องให้เหมาะสมกับนามนาม. เอกศัพท์ ใช้เป็นวิเสสนะของนามนามใด เวลาแปล พึงเหน็บลักษณนามของนามนั้นลงไปด้วย เช่น เอกา ธมฺมเทสนา อ. ธรรมเทศนา ๑ กัณฑ์. คำว่าไม้เอก (วรรณยุกต์ที่ ๑) มา จากเอกศัพท์นี้. เอกศัพท์ที่นำมาใช้ใน ภาษาไทยมีความหมายว่า ตัวคนเดียว ลำพังตัว โดดเดี่ยว เปลี่ยว เฉพาะ เด่น ดีเลิศ ยิ่งใหญ่ สำคัญ ที่หนึ่ง (ไม่มีสอง). ส. เอก.
  24. เอกี เอกีก : (ปุ.) คนผู้เดียว, คนคนเดียว.
  25. โอก : (นปุ.) น้ำ, อุทก ศัพท์ ลบ ก พฤทธิ์ อุ เป็น โอ.
  26. โอก โอกฺลาป : (ปุ.) หยากเยื่อ (เศษสิ่งของที่ ทิ้งแล้ว มูลฝอยก็เรียก).
  27. กฏุ กฏก : (วิ.) เผ็ด, เผ็ดร้อน, หยาบ, หยาบคาย, ดุ, ดุร้าย, ผิด, ไม่ควร, ไม่ สมควร. กฏฺ คติยํ, อุ. ศัพท์ หลัง ก สกัด แต่อภิฯ และฎีกาอภิฯ ลง ณฺวุ ปัจ แปลง ณวุ เป็น อก แล้ว ฏฺ อาศัย อ แปลง อ ที่ ฏ เป็น อุ. ส. กฏุ. กฏุ
  28. กนีนิกา : (อิต.) ลูกตาดำ, แก้วตา, หน่วยตา, กญฺญา+อก ปัจ. แปลง กญฺญา เป็น กนิน ทีฆะ อิ เป็น อี เอา อ ที่ น เป็น อิ อาอิต.
  29. ฉชฺช : (ปุ.) ฉัชชะ ชื่อเสียงดนตรีอย่างที่ ๓ ใน ๗ อย่าง เกิดจากหกส่วนคือ จมูก ปาก อก เพดาน ลิ้น และฟันหรือคอ เป็นเสียง เหมือนนกยูงร้อง วิ. ฉหิ ชาโต ฉชฺโช. ฉ+ชนฺ ธาตุ กฺวิ ปัจ. ลบที่สุดธาตุ แปลง ช เป็น ชฺช.
  30. นนฺทก : (วิ.) ผู้เพลิดเพลิน, ฯลฯ. รูปฯ ลง อ ปัจ. ก สกัด โมคฯ ขาทิกัณฑฺ ๓๕ ลง อก ปัจ.
  31. นาก : (ปุ.) ประเทศไม่มีทุกข์, แดนไม่มีทุกข์, นากะ ชื่อสวรรค์ชื่อ ๑ ใน ๕ ชื่อ, สวรรค์. วิ. นตฺถิ อกํ ทุกขํ เอตฺถาติ นาโก. นตฺถิ+อก ณ ปัจ. ตทัสสัตถิตัท. ลบ ตฺถิ. ส. นาก.
  32. พหุวารก : (ปุ.) มะกอก, มะทราง, มะคำไก่, มะปราง. วิ. ปิจฺฉิลตฺตา พหูนิ วารีนิ ยสฺมึ โส พหุวารโก. แปลง อิ ที่ วาริ เป็น อก สกัด.
  33. มุสิก : (ปุ.) หนู, มุสฺ เถยฺเย, ณฺวุ แปลง ณฺวุ เป็น อก อ+สฺ เป็น ส แปลง อ ที่ ส เป็น อิ. ดู มูสิก.
  34. อุร : (ปุ. นปุ.) อก, ทรวง (อก), ทรวงอก (ใช้ในคำกลอน), ชีวิต. อรฺ คมเน, อ, อสฺสุกาโร (แปลง อ อักษรเป็น อุ อักษร). โมคฯ ตั้ง อุสฺ ทาเห. ร ปัจ. ลบ สฺ อธิบายว่า อันความโศกเผาอยู่. บาลีไวยา- กรณ์เป็น ปุ. ส. อุรศฺ อุรสฺ.
  35. กนฺทล : ป., นป. ชื่อของต้นไม้อย่างหนึ่งมีดอกขาว; วัด; ลางร้าย
  36. กมลาสน : (ปุ.) กมลาสน์ ชื่อของพระพรหม, พระพรหม (มีดอกบัวเป็นที่นั่ง) วิ. กมลํ อาสนํ ยสฺส โส กมลาสโน.
  37. กุสุมิต : ค. มีดอก, กำลังผลิดอก, มีดอกบานสะพรั่ง
  38. โกธุปายาส : ป. การประสบกับความโกรธแค้น, ความคับแค้นด้วยสามารถแห่งความโกรธ, ความคับอกคับใจ
  39. โกรกิต : ค. มีดอกตูม
  40. จงฺการ จงฺโคร : (ปุ.) นกกะปูด (ขนปีกแข็งอก ดำ ร้องเสียงปูดๆ เวลาน้ำขึ้น) นกปูด หรือ นกกดปูด ก็เรียก, นกออก, นกกาน้ำ, นก โพระดก.
  41. จนฺทน : (ปุ. นปุ.) จันทน์ชื่อต้นไม้มีดอกผล และแก่นมีกลิ่นหอม, ต้นจันทน์, ไม้จันทน์, แก่นจันทน์. วิ. จนฺทยติ สีตคุณสมงฺคิตาย สตฺตานํ ปริฬาหํ วูปสเมนฺตํ สุขํ อุปฺปาเทตีติ จนฺทนํ. จทิ หิาทเน, ยุ. ส. จนฺทน.
  42. จมฺปกนีลุปฺปลาทิเภท : (วิ.) อันต่างด้วยดอกไม้ มีดอกจำปา และดอกอุบลเขีนวเป็นต้น.
  43. โจลกโจฬก : (นปุ.) โล่, ดาบ, ทับทรวง ชื่อ เครื่องประดับที่คอหรืออก ถ้าประดับม้า ใช้ประดับที่หน้าผาก. จุ จวเน จาวเน วา. โล, โฬ.
  44. ทยิตพฺพ : กิต. อัน...พึงเอ็นดู, พึงสงสาร, พึงเห็นอกเห็นใจ
  45. ทิสากาก : ป. กาบอกทิศ, กาที่เขานำไปกับเรือเพื่อบอกทิศทางบกในเวลาเรืออยู่ในทะเล
  46. นทีปูร : (นปุ.) วัตถุเป็นเครื่องรัด, เชือกเป็น เครื่องผูก, เชือก, เ ชือกหนัง, ชะเนาะ (ไม้กับเชือกที่ขันบิดให้แน่น). นหฺ พนฺธเน, โต, แปลง ต. เป็น ทฺธ ลบที่สุดธาตุ อิอาคม.
  47. นิทฺเทส : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องแสดงออก, คำแสดงออก, คำจำแนกออก, คำชี้แจง, คำอธิบาย, การแสดงออก (มาให้เห็น ชัดเจน), การชี้, การชี้ให้เห็นโทษ, การแสดงอรรถที่เป็นข้อๆ ออก, นิทเทศ, นิเทศ (การแสดงอย่างพิสดาร).
  48. ปทุมี : ค., ป. มีดอกบัว, เนื่องด้วยดอกบัว, เหมือนดอกบัว; ช้างตระกูลหนึ่งมีตัวลาย
  49. ปปุปฺผก : (นปุ.) ที่เป็นที่บานไสว, เตภูมิ- กวัฏฏะเป็นที่เบิกบาน, ลูกธนูที่มีดอกไม้ ใส่ปลาย, ลูกดอก.
  50. ผาลิม : ค. ซึ่งเผยออก, ซึ่งผลิออก, ซึ่งแยกออก, ซึ่งเปิดออก, ซึ่งบาน
  51. [1-50] | 51-80

(0.0100 sec)