โทส : (วิ.) หมดความแช่มชื่น, ไม่แช่มชื่น, ไม่ชอบ, ไม่ชอบใจ, ไม่พอใจ, ชัง, โกรธ, โกรธขึ้ง, ขึ้งเคียด, เคือง, ฉุนเฉียว, ประทุษร้าย, เป็นเครื่องประทุษร้าย. ทุสฺ อปฺปีติโทสเนสุ, โณ.
อาฆาฏอาฆาต : (วิ.) โกรธขึ้ง, ขึ้งเคียด, จำนงภัย, ปองร้าย, จองเวร, เบียดเบียน, พยาบาท
กุชฺฌติ : ก. โกรธ, ขุ่นเคือง, ขึ้งเคียด
โกธ : (ปุ.) ความกำเริบ, ความเคือง, ความโกรธ, ความโกรธขึ้ง, ความขึ้งเคียด, ความดุร้าย, ความโหดเหี้ยม, ความจำนงภัย. วิ. กุชฺฌนํ โกโธ. คนผู้โกรธ, คนโกรธ. กุชฺฌตีติ โกโธ. กุธฺ โกเป, โณ.
ปฏิฆ : ป., นป. ปฏิฆะ, ความขัดเคือง, ความขึ้งเคียด, ความขัดใจ, ความกระทบใจ, ความโกรธ
ปติฏฺฐิยติ, ปติฏฺฐียติ : ก. ดื้อดึงขึ้งเคียด, โกรธแค้น, หมายขวัญ
องฺฆาต : (วิ.) โกรธ, ขึ้งเครียด, กระทบ.เบียดเบียน.อาฆาต ศัพท์ แปลง อา เป็นนิคคหิต แล้วแปลงเป็น งฺ.
อุสฺสุยนา อุสฺสูยนา : (อิต.) กิริยาที่ขึ้งเคียด, กิริยาที่ชิงชัง, ความขึ้งเคียด, ความชิงชัง, ความโกรธ. อุสูยฺ โทสาวิกรเณ, ยุ. ซ้อน สฺ ศัพท์ ต้นรัสสะ.
อุสุยฺยก อุสฺสู อุสูยก : (วิ.) ผู้ริษยา, ผู้ขึ้งเคียด, ผู้โกรธ, ผู้ชิงชัง.
อนภิรทฺธ : ค. อันไม่พอใจ, โกรธ
จณฺฑ จณฺฑาล : (วิ.) หยาบช้า, เกรี้ยวกราด, ร้ายกาจ, ดุ, ร้าย, ดุร้าย, ขึ้งเคียด, ขึ้ง เคียดนัก, จัด, ฉุนเฉียว, โหด, เหี้ยม, โหดเหี้ยม, จฑิ จณฺฑนโกเปสุ. ศัพท์แรก อ ปัจ. กัจฯ และรูปฯ ลง ก ปัจ. ลบ ก ศัพท์หลังลง อล ปัจ.
ปกุชฺฌติ : ก. โกรธ
กุชฺฌน : (นปุ.) ความโกรธ. กุธฺธาตุ ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ย ปัจ. นามกิตก์ แปลง ธฺย เป็น ชฺฌ ยุ เป็น อน.
กุชฺฌนา : (อิต.) ความโกรธ. กุธฺธาตุ ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ย ปัจ. นามกิตก์ แปลง ธฺย เป็น ชฺฌ ยุ เป็น อน.
กุชฺฌาปน : นป. การทำให้โกรธ
กุชฺฌิ : ก. โกรธแล้ว
กุทฺธ : (ปุ.) ความโกรธ, ความเคือง. กุธฺ โกเป, โต.
กุทฺธปุพฺพ : (วิ.) โกรธแล้วในก่อน, โกรธแล้ว ในกาลก่อน, เคยโกรธแล้ว.
กุปฺปติ : ก. โกรธ, เคือง, หวั่นไหว, กำเริบ, สะเทือน
กุปฺปน : นป. ความโกรธ, ความเคือง, ความกำเริบ, ความสะเทือน
กุปิต : ค. ผู้โกรธแล้ว, ผู้ขัดเคืองแล้ว; หวั่นไหวแล้ว, กำเริบแล้ว
โกธครุ : ค. ผู้หนักในความโกรธ, ผู้มักโกรธ
โกธปญฺญาณ : (วิ.) มีความโกรธปรากฏ, มีความแค้นเคือง, มีความมุทะลุ.
โกธปญฺญาณ, ญาน : ค. ผู้มีความโกรธเป็นเครื่องปรากฏ, ผู้โกรธง่าย
โกธภกฺข : ค. (ยักษ์) มีความโกรธเป็นภักษา (ธรรมดายักษ์ยิ่งโกรธก็ยิ่งมีวรรณะเอิบอิ่มขึ้นดุจได้กินอาหาร)
โกธวินย : ป. การบรรเทาความโกรธ, การกำจัดความโกรธ
โกธสามนฺต : (วิ.) ใกล้ต่อความโกรธ, ฯลฯ.
โกธาภิถู : (วิ.) ผู้ครอบงำความโกรธ. เป็นฝ่ายดี. ผู้อันความโกรธครอบงำ. เป็นฝ่ายชั่ว.
โกธาภิภูต : (วิ.) ผู้ครอบงำแล้วซึ่งความโกรธ, ผู้อันความโกรธครอบงำแล้ว, ผู้ขี้โกรธ.
โกธุปายาส : ป. การประสบกับความโกรธแค้น, ความคับแค้นด้วยสามารถแห่งความโกรธ, ความคับอกคับใจ
โกปนฺตร : ค. ผู้ตกอยู่ในอำนาจความโกรธ
โกปเนยฺย : ค. เป็นที่ตั้งแห่งความโกรธ
โกปี : (วิ.) ผู้มักโกรธ, ฯลฯ. ดู โกธน เทียบ. ณี ปัจ.
โกเปติ : ก. ทำให้เกิดโกรธ, ละเมิด (กฎ)
ฏก ฏงฺก : (ปุ.) สิ่ว, เหล็กสกัดสิลา, เครื่องมือ ทำลายหิน, เครื่องมือช่างทำหิน, เครื่อง มือขุดดิน, ขวาน, ขวานเล็กๆ, ดาบ. ฏํกฺ วิทารเณ, อ. แปลง ก เป็น ค เป็น ฏงฺค บ้าง. แปลว่า ความโกรธบ้าง.
ฐียติ : ก. ดื้อดึง, โกรธแค้น
ทุสฺสติ : ก. ประทุษร้าย, ทำร้าย, ทำให้เสียหาย, โกรธเคือง
ทุสฺสน : นป., ทุสฺสนา อิต. การประทุษร้าย, การทำให้เสียหาย, การโกรธเคือง
ทุสฺสนีย : ค. ซึ่งเป็นที่ตั้งแห่งความขัดเคือง, ซึ่งน่าโกรธเคือง
ทุสฺสิตตฺต : นป. ความที่จิตถูกโทษประทุษร้าย, ความโกรธเคือง
โทสครุ : ค. ผู้มีโทสะหนัก, ผู้มากด้วยโทสะ, ผู้มักโกรธ
โทสี : ค. ผู้มีโทสะ, ผู้โกรธ
ธูม : (ปุ.) ความโกรธ, ควัน, ควันไฟ, ความตรึก, กามคุณ ๕, ธรรมเทศนา. ธูปฺ กมฺปนสนฺตาเปสุ, โม. กัจฯ และรูปฯ ลง มนฺ ปัจ. ลบ นฺ. ส. ธูม.
นาฎฺยรส : (ปุ.) นาฏยรส. นาฏยรสมี ๙ คือ ๑. สิงฺคาโร ความรัก ๒.กรุโณ ความเอ็นดู ๓. วิโร ความกล้าหาญ ๔. อพฺภูโต ความอัศจรรย์ ๕. หสฺโส ความร่าเริง ๖. ภยานโก ความกลัว ๗. สนฺโต ความละเอียด ความสงบ ๘. วิภจฺฉํ เห็นแจ้ง และ ๙. รุทฺทํ ความโกรธ.
นาฏยรส : ป. รสแห่งนาฏยะมี ๙ อย่างคือ
(๑) สิงฺคาร ความรัก
(๒) กรุณา ความเอ็นดู
(๓) วีร ความพากเพียรอาจหาญ
(๔) อพฺภูต ความอัศจรรย์
(๕) หสฺส ความร่าเริง
(๖) ภย ความกลัว
(๗) สนฺต ความสงบ
(๘) สิภจฺฉ ความเห็นแจ้ง
(๙) รุทฺธ ความโกรธ
นิกฺโกธ : ค. ผู้ไม่มีความโกรธ
นิฆ : ๑. ป. โกรธ, สับสน, วุ่นวาย, ยุ่งยาก;
๒. นป. การฆ่า, การประหาร, การทำลาย
ปโกป : ป. ความโกรธเคือง, ความเดือดพล่าน, ความยุ่งยาก
ปฏิกุชฺฌติ : ก. โกรธตอบ
ปฏินิชฺฌตฺต : กิต. (อันเขา) ขอโทษแล้ว, หายโกรธแล้ว