Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: โครงกระดูก, กระดูก, โครง , then กระดูก, ครง, โครง, โครงกระดูก .

ETipitaka Pali-Thai Dict : โครงกระดูก, 52 found, display 1-50
  1. อฏฺฐิสงฺขลิก : (ปุ.) ร่างกระดูก, โครงกระดูก เป็น อิต. ก็มี.
  2. กงฺกล : ป., นป. โครงกระดูก, ร่าง, โซ่
  3. อฏฺฐิกงฺกล : ป.โครงกระดูก
  4. ขาราปตจฺฉิก : ป. การทรมาน, การลงโทษวิธีหนึ่ง โดยการใช้มีดสับร่างกายแล้วเอาแผลจุ่มน้ำกรดทำให้เนื้อหนังเอ็นหลุดไปให้เหลือแต่โครงกระดูก
  5. อฏฺฐิสงฺขลิก : (ปุ.) ร่างกระดูก, โครงกระดูกเป็นอิต.ก็มี.
  6. มาลา : (อิต.) ระเบียบ, แถว, แนว, ถ่องแถว, โครง, แผน, หมวด, สาขา, สร้อยคอ, สาย, ดอกไม้, พวง, พวงดอกไม้. วิ. มียติ ปริมียตีติ มาลา. มา มาเน, โล, อิตฺถิยํ อา. มลฺ ธารเณ วา, อ. มา ภมรา ลสนฺติ เอตฺถ ปิวเนนาติ วา มาลา, มาปุพฺโพ, ลสฺ กนฺติยํ, กฺวฺ ลบที่สุดธาตุ.
  7. เทหธารก : นป. กระดูก
  8. สารีริก : ๑. ค. เกี่ยวข้องกับร่างกาย; ๒. นป. กระดูก
  9. กฏฏฐิก : นป. กระดูกสะเอว, กระดูกสะโพก
  10. กฏิถาลก : นป. กระดูกสันหลังที่จดบั้นเอว
  11. กรงฺค : นป. ศีรษะ, หัว, กระดูกมนุษย์
  12. เกฏุภ : (นปุ.) เกฏุภศาสตร์ ศาสตร์ว่าด้วยกิริยา และเป็นชื่อของศาสตร์ที่แสดงลักษณะของ โครงฉันท์ กาพย์ วิ. กิฎนฺติ กวโย โกสลฺลํ พนฺธเนสุ เอเตนาติ เกฎุภํ. กิฏฺ คติยํ, อโภ, อิสฺเส, อสฺสุจ. อถวา, กิฏฺปุพฺโพ, อภฺ ปูรเณ, อ.
  13. โกฏฐฏฐิ : อิต. กระดูกท้อง
  14. ฉวฏฺฐิ : นป. กระดูกผี, ซากศพ
  15. ชาติมาลา : (อิต.) แผนแห่งชาติ, สาขาแห่ง ชาติ, แผนแห่งเครือญาติ, โครงแห่ง ตระกูล.
  16. ทนฺตฏฺฐิก : ป. กระดูกฟัน
  17. ทฺวิช : (ปุ.) พราหมณ์ ชื่อคนวรรณะที่ ๒ ในวรรณะ ๔ วิ. กุลาจารพฺราหฺมณวเสน ทฺวิกฺขตฺตํชาตตฺตตา ทฺวิโช. ฟัน (กระดูกเป็นซี่ๆ อยู่ในปาก) วิ. ทฺวีสุ ฐาเนสุ ทฺวิกฺขตฺตุ วา ชายเตติ ทฺวิโช. สัตว์ผู้เกิดสองหน, นก. วิ. มาตุกุจฺฉิโต อณฺฑโต จาติ ทฺวิกฺขตฺตุชาตตฺตา ทฺวิโช. ส. ทฺวิช.
  18. ทสน : (นปุ.) ฟัน ( กระดูกเป็นซี่ๆอยู่ในปาก ). ทํสฺ ทํสเน, ยุ. ส. ทํศน.
  19. ทิฏฺฐิสงฺฆาต : ป. โครงร่างแห่งทิฐิ, ความสับสนแห่งความเห็น
  20. นลาฏฏฺฐิ : (ปุ.) กระดูกหน้าผาก.
  21. ปนฺนค : (ปุ.) สัตว์ผู้มีหัวตกไป, สัตว์ผู้ไม่ไป ด้วยเท้า, ( เคลื่อนไปด้วยกระดูกซี่โครงและ เกล็ด ), งู, นาค, นาคราช. วิ. ปนฺนสิโร คจฺฉตีติ ปนฺนโค. ปนฺนํ คจฺฉตึติ วา ปนฺน โค. ปาเทหิ น คจฺฉตีติ วา ปนฺนโค. ปนฺน ปุพฺโพ, คมุ สปฺปคติยํ, กวิ.
  22. ปาทฏฺฐิก : นป. กระดูกเท้า, กระดูกขา
  23. ปาสุก, ปาสุฬ : ป. ซี่โครง, โครงร่าง
  24. ปิฏฺฐิกณฺฏก : นป. กระดูกสันหลัง
  25. ปิฏฺฐิวส : ป. กระดูกสันหลัง; ชื่อเรือน
  26. พาหฏฺฐิ : นป. กระดูกแขน
  27. มิญฺช : (นปุ.) เยื่อ, เยื่อในกระดูก, เม็ด, เม็ดใน, เมล็ด.
  28. อกฺขก : นป. กระดูกไหปลาร้า
  29. อกฺข อกฺขก : (ปุ.) ไหปลาร้า คือกระดูกทั้งคู่ที่อยู่ต้นคอข้างหน้าทั้งสองข้าง, รากขวัญ, กระดูกคร่อมต้นคอ. อกฺ คมเน, โข, สกตฺเถ โก.
  30. องฺคุลฏฺฐิ : (นปุ.) กระดูกแห่งนิ้วมือ, กระดูกนิ้วมือ.
  31. องฺคุลฏฺฐิ : นป. กระดูกนิ้วมือ
  32. อฏฺฐิมย : ค. ทำด้วยกระดูก, สำเร็จด้วยกระดูก
  33. อฏฺฐิมิญฺช : (นปุ.) เยื่อในกระดูก, เยื่อกระดูก.อสฺถิกฤตอสฺถิช.
  34. อฏฺฐิมิญฺช : (นปุ.) เยื่อในกระดูก, เยื่อกระดูก. อสฺถิกฤต อสฺถิช.
  35. อฏฺฐิมิญฺชา : อิต. เยื่อในกระดูก
  36. อฏฺฐิสงฺขลิกา : อิต.โครงกระดูก,ร่างกระดูก
  37. อฏฺฐิสงฺฆาต : อิต.โครงกระดูก,ร่างกระดูก
  38. อฏฺฐิสญฺจย : ป. กองกระดูก
  39. อฏฺฐิสญฺญา : อิต. ความสำคัญในกระดูก
  40. อฏฺฐิสณฺฐาน : (นปุ.) ทรวดทรงแห่งกระดูก, ทรงกระดูก.
  41. อฏฺฐิสณฺฐาน : (นปุ.) ทรวดทรงแห่งกระดูก, ทรงกระดูก.
  42. อฏฺฐิอฏฺฐิก : (นปุ.) กระดูก, ก้าง, เมล็ด, อสุ เขปเน, อิ, สสฺสฏฺโฐอสฺ ภูวิ วา, ติ, ติสฺส ฏฺฐิ, สฺโลโป.ศัพท์หลัง ก สกัด. ส.อสฺถิอสฺถิก.
  43. อฏฺฐิ อฏฺฐิก : (นปุ.) กระดูก, ก้าง, เมล็ด, อสุ เขปเน, อิ, สสฺส ฏฺโฐ อสฺ ภูวิ วา, ติ, ติสฺส ฏฺฐิ, สฺโลโป. ศัพท์หลัง ก สกัด. ส. อสฺถิ อสฺถิก.
  44. อฏฺฐิ , อฏฺฐิก : นป. ๑. กระดูก, ๒. เมล็ดในผลไม้, ๓. หิน
  45. อูรฏฐิ : นป. กระดูกขาอ่อน
  46. ชตุ : (นปุ.) ครั่ง ใช้เรียกทั้งตัวครั่งและขี้ครั่ง โดยมากหมายเอาขี้ครั่งที่ใช้เป็นชื่อตัวครั่ง น่าจะ เป็น ปุ., ยาง, ยางไม้. ชนฺ ชนเน, ตุ, นฺโลโป. ส. ชตุ.
  47. ลาขา : อิต. ครั่ง
  48. สามิ : (อัพ. นิบาต) กึ่ง, ครึ่ง, น่าเกลียด, อันพึงเกลียด. ส. สามิ.
  49. อฑฺฒอทฺธ : (นปุ.) กึ่ง, ครึ่ง, ซีก, ส่วน, ภาค.เมื่อหมายเอาส่วนที่ไม่เท่ากันเป็น ปุ.ถ้าหมายเอาส่วนที่เท่ากันเป็น นปุ. วิ. อสติเขเปติ สมุทายนฺติ อฑฺโฒ.อสุเขปเน, โต.แปลง ต เป็น ฑฺฒลบที่สุดธาตุคำหลังดูอทฺธข้างหน้า.ส. อรฺทฺธอรฺธ.
  50. อฑฺฒ อทฺธ : (นปุ.) กึ่ง, ครึ่ง, ซีก, ส่วน, ภาค. เมื่อหมายเอาส่วนที่ไม่เท่ากันเป็น ปุ. ถ้า หมายเอาส่วนที่เท่ากันเป็น นปุ. วิ. อสติ เขเปติ สมุทายนฺติ อฑฺโฒ. อสุเขปเน, โต. แปลง ต เป็น ฑฺฒ ลบที่สุดธาตุ คำหลัง ดู อทฺธ ข้างหน้า. ส. อรฺทฺธ อรฺธ.
  51. [1-50] | 51-52

(0.0718 sec)