โจร : (ปุ.) ขโมย (ผู้ลักสิ่งของ), โจร (ผู้ร้าย ลักปล้น). จุรฺ เถยฺเย, โณ. ส. โจร.
จร : (วิ.) บรรลุ, ไป, เที่ยวไป, เคลื่อนที่ไป, เคลื่อนที่ได้. จรฺ คติยํ, อ. สั่งสม, สะสม, รวบรวม. จรฺ สญฺจเย, อ. ประพฤติ จรฺ จรเณ, อ. สละ, ละ, ทิ้ง. จรฺ จชเน, อ. กิน, บริโภค. จรฺ ภกฺขเณ, อ. ยกขึ้น, สั่น, ส่าย, กลับกลอก, คลอนแคลน. จรฺ อุกฺขิปเน, อ.
โจรเชฏฺฐ โจรเชฏฺฐก : (ปุ.) นายโจร (คนที่ เป็นใหญ่ในพวกโจร). เป็น ส. ตัป. โจร – โจก (โจกคือหัวหน้า), โจรผู้เป็นหัวหน้า, โจรผู้เป็นใหญ่. เป็นวิเสสนบุพ. กัม.
โจรกถา : (อิต.) พูดเรื่องโจร
โจรฆาตก : ป. คนฆ่าโจร, เพชฌฆาตผู้มีหน้าที่ประหารชีวิตโจร
โจรภย : (นปุ.) ภัยแต่โจร, ภัยอันเกิดแต่โจร.
จรติ : ก. เที่ยวไป, ท่องเที่ยวไป, ดำเนินไป, ประพฤติ
โจรโกฏฺฐ : (ปุ.) ไคร้เครือ.
กามาวจรกิริยา : อิต. จิตที่เป็นกิริยาฝ่ายกามาวจร
จจฺจร : (นปุ.) ทางสี่แพร่ง, สนาม, ลาน จรฺ คติภกฺขเณสุ, จโร, รสฺส โจ.
โจรี : (อิต.) หญิงผู้เป็นโจร, นางโจร.
ปาริปนฺถิก : ๑. ป. นักปล้นในหนทาง, โจร;
๒. ค. มีอันตราย, เต็มไปด้วยอันตราย
ปุเรจร : (วิ.) ผู้ไปในเบื้องหน้า, ผู้เป็นหัวหน้า, ผู้นำ. วิ. ปุเร จรตีติ ปุเรจโร. ปุรปุพฺโพ, จรฺ คติยํ, อ, สตฺตมิยา อโลโป.
มิตฺตทุพฺภิโจร : (ปุ.) โจรผู้ประทุษร้ายแก่มิตร, โจรผู้ประทุษร้ายต่อมิตร, โจรผู้ประทุษร้ายมิตร.
อรูปาวจร : ค. อรูปาวจร, อันเที่ยวไปในอรูป, อันนับเนื่องด้วยโลกแห่งความไม่มีรูป
อรูปาวจรภูมิ : (อิต.) ภูมิเป็นที่ท่องเที่ยวไปของพรหมผู้ไม่มีรูป, ภูมิที่เป็นที่เกิดของอรูป-พรหม, ที่เกิดของอรูปาวจรวิบาก.
กามาวจร : ค. ซึ่งท่องเที่ยวไปในกาม
กามาวจรจิตฺต : นป. จิตที่ท่องเที่ยวไปในกาม
กามาวจรวิปาก : นป. จิตซึ่งเป็นผลท่องเที่ยวไปในกาม
กุเวรานุจร : (ปุ.) อมนุษย์ผู้เป็นบริวารของ ท้าวกุเวร.
คณฺฐิกเภทกโจรวตฺถุ : (นปุ.) เรื่องของโจรผู้ ทำลายปม.
จรุ : (ปุ.) การหุงข้าวสังเวยเทวดา, ภาชนะ เครื่องเซ่นสังเวย, เครื่องเซ่นสังเวย. วิ. จรียติ อิกฺขียตีติ จรุ. จรฺธาตุ อุ ปัจ.
จิร : (วิ.) นาน, ช้า, ช้านาน, ยั่งยืน, ยืนนาน.
จีร : (นปุ.) การเขียน, การตกแต่ง, ผ้าเปลือก ไม้, ผ้าปิดของลับ, ตะเข็บผ้า, ขนสร้อย ( ขนที่คอสัตว์เป็นพวงงาม?) พวงมาลัย, ตะกั่ว.
จีร จีริก จีรี : (ปุ.) เรไร, จักจั่น, จิ้งหลีด. วิ. จีรียติ สทฺทายตีติ จีรี. จีริ หึสายํ, อี. เป็น อิต. ก็มี.
จีร, - รก : นป. เส้นใย, ใยไม้, เปลือกไม้, ผ้าเปลือกไม้; เส้น, ดิ้น (เงินหรือทอง)
จีรี : อิต. จิ้งหรีด, เรไร
ฉกามาวจร : (ปุ.) ภพเป็นที่เที่ยวไปของสัตว์ผู้ เสพกามหกชั้น, ฉกามาพจร ชื่อของสวรรค์ ๖ ชั้น เป็นที่อยู่ของสัตว์ผู้เสพกาม.
ตาฬาวจร : ๑. นป. เวลาดนตรี, ดนตรี;
๒. ป. นักดนตรี
ทรีจร : ค. ซึ่งเที่ยวไปตามซอกเขา, ซึ่งอยู่ในถ้ำ
นทีจร : (ปุ.) นกเป็ดน้ำ.
ปจรติ : ก. ประพฤติ, เที่ยวไป
ปฏิจรติ : ก. เที่ยวไป, ท่องเที่ยว, เกี่ยวข้อง; กลบเกลื่อน, ทำให้สับสน, พูดวกวน, พูดกลับไปกลับมา, ทำ (ปัญหา) ให้คลุมเครือ
ปตฺถจร : ค., ป. ผู้คอยรับใช้, ผู้ปรนนิบัติ; ศิษย์, คนรับใช้
ปทจร : (ปุ.) คนเที่ยวไปด้วยเท้า, คนเดินเท้า, การเที่ยวไปด้วยเท้า, การไปด้วยเท้า, บทจร. ไทยใช้ บทจร เป็นกิริยาว่าเดินไป.
ปริจรติ : ก. บำเรอ, รับใช้, ประพฤติรอบคอบ
ปริสาวจร : ค. ผู้เข้าสมาคม
ปวิจรติ : ก. พิจารณา, ไตร่ตรอง
ปฬจฺจร : นป. ผ้าเก่า
พทฺธจร : ป., ค. รับใช้, ซึ่งอยู่ภายใต้; คนรับใช้
โยคาวจร : (ปุ.) บุคคลผู้หยั่งลงสู่ความเพียร, ภิกษุผู้หยั่งลงสู่ความเพียร คือท่านผู้เรียนสมถวิปัสนา และปฏิบัติสมถะหรือวิปัสสนา.
รูปาวจร : ค. ซึ่งเป็นไปในรูปภพ, มีอยู่ในรูปภพ
วิจรติ : ก. เที่ยวไป
สญฺจรติ : ก. ท่องเที่ยว
สมาจรติ : ก. ประพฤติชอบ
สมุทาจรติ : ก. ปรากฏขึ้น
สานุจร : ค. ผู้เที่ยวไปบนยอดเขา, ผู้ร่วมไปกับผู้ติดตาม
อจฺจร อจฺจุร : (วิ.) มาก, หลาย, อธิปุพฺโพ, อรฺ คติยํ, อ. แปลง อธิ เป็น อจฺจ ศัพย์ หลัง แปลง อ ที่ จ เป็น อุ.
อชฺฌาจรติ : ก. ประพฤติผิด, ละเมิด