ชย : (วิ.) ผู้ชนะ วิ.ชินาตีติ ชโย.ชิ ชเย, อ. โณ วา. วิการ อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อย.
ชยภูมิ : (อิต.) แผ่นดินอันแสดงถึงชัยชนะ, พื้นที่อันมีชัย, ชัยภูมิ ( ทำเลที่เหมาะ). ส. ชยภูมิ.
ชยสุมน : (นปุ.) ชยสุมนะ ชื่อของต้นไม้ที่มี ดอกสีแดง เช่น หงอนไก่ ชบา, ดอกชบา, ดอกชัยพฤกษ์ และดอกคำ, ดอกชัยพฤกษ์ (แปล สุมน ว่า ดอก).
ชยกุสุม : (นปุ.) ดอกชัยพฤกษ์, ดอกคำ.
ชยติ : ก. ชนะ, มีชัย, ได้เปรียบ
ชยปาน : (นปุ.) น้ำอันบุคคลพึงดื่มในการเป็น ที่ชนะข้าศึก, น้ำดื่มของทหารผู้ชนะ สงคราม, ชัยบาน.
ชยปาล : (ปุ.) พระพรหม, พระศิวะ.
ชยเภริ : (อิต.) กลองอันบุคคลพึงตีในคราวมี ชัย.
ชยเภรี : อิต. กลองชัย, กลองศึก
ชยสิทฺธิ : (อิต.) ความสำเร็จแห่งความชนะ, ความสำเร็จแห่งชัยชนะ.
ชยสุมนาลตฺตกปาฏลวณฺณ : (วิ.) มีสีเพียง ว่าสีแห่งดอกชัยพฤกษ์และสีครั่งและ ดอกแค. เป็น ฉ. อุปมาพหุพ. มี อ.ทวัน. เป็นท้อง.
อปราชย : (วิ.) ไม่มีความพ่ายแพ้, ไม่พ่ายแพ้, ชนะ.ส. อปราชย.
เตโชชย : (ปุ.) ความชนะด้วยกำลัง, ฯลฯ.
ธนปราชย : ค. ผู้ปราชัยในทรัพย์, ผู้เสียทรัพย์
ปราชย : (ปุ.) ความไม่ชนะแก่ข้าศึก, ความแพ้แก่ข้าศึก. ปร+ อชย. ความแพ้, ความพ่ายแพ้. ปราปุพฺโพ, ชิ ชเย, โณ. รเณยุทฺเธ โย ภงฺโค โส ปราชโย นาม. อภิฯ และ ฎีกาอภิฯ
วฺยญฺชยติ : ก. ชี้แจง, แสดง
อญฺชย : ค. ซื่อ, ตรง
อนุพฺพชยติ : ก. ไปตาม, ติดตาม, ตามรอย
อวชย : ค. แพ้, ปราชัย
ชยมฺปติ : (ปุ.) เมียและผัว. วิ. ชายา จ ปติ จ ชยมฺปติ รัสสะ อาที่ ชา และยา สังโยค มฺ หรือ ลง นิคคหิตอาคม แล้วแปลงเป็น มฺ อภิฯ ว่าเพราะมี ปติ อยู่เบื้องปลาย แปลง ชายา เป็น ชย.
ขชฺช ขชฺชก : (นปุ.) วัตถุอันบุคคลพึงเคี้ยวกิน, ของควรเคี้ยว, ของหวาน, ขนม. วิ ขาทิตพฺพนฺติ ขชฺชํ. ของอันบุคคลย่อมเคี้ยว กิน วิ. ขชฺชยเตติ ขชฺชํ. ขาทฺ ถกฺขเณ, ณฺย. รัสสะ อา เป็น อ ลบ ณฺ เป็น ทฺย แปลง ต เป็น ช ถ้าตั้ง ขญฺชฺ ลบ ญฺ สังโยค. ส. ขชฺช.
ชายา : (อิต.) ภริยา, ภรรยา, เมีย, ชายา (ถรร- ยาของเจ้านาย). วิ. ชายติ ปุตฺโต อิมายาติ ชายา. ชนฺ ชนเน, โย, ชนสฺส ชา. ชยตีติ วา ชายา. ชิ ชเย, โย, ชิสฺส ชา.
ปพฺพชฺชา : (อิต.) การเว้น, การละเว้น, การบวช, บรรพชา (การละเว้นจากการทำชั่ว ทุกอย่าง ). บรรพชานั้นต้องเว้นจากเมถุน ธรรม การบวชในศาสนาหรือลัทธิใดก็ตาม ถ้าเว้นจากกามกิจแล้วเรียกว่าบรรพชาได้. ความหมายของคำ ปพฺพชา นั้น คือการออกจากความเป็นฆราวาส ไปประพฤติตน เป็นนักบวช ต่อมามีพระบัญญัติให้ผู้ที่มี อายุยังไม่ครบ ๒๐ ปีบริบูรณ์บวช เรียกผู้ที่ บวชนั้นว่า สามเณร สามเณรี จึงแยกการบวชออกเป็น ๒ คือ บวชเป็นภิกษุ เรียกว่า อุปสมบท บวชเป็น สามเณร สามเณรี ว่า บรรพชา. ปปุพฺโพ, วชฺชฺ วชฺชฺเน, อ, อิตฺถิยํ อา. กัจฯ ๖๓๘ รูปฯ ๖๔๔ วิ. ปฐเมว วชิตพฺพาติ ปพฺพชฺชา. ปฐมปุพฺโพ, วชฺ คติยํ, โณฺย ภาวกมฺเมสุ. แปลง ชฺย เป็น ชฺช แปลง ว เป็น วฺว แล้วแปลงเป็น พฺพ. โมคฯ ลง ย ปัจ. ส. ปฺรวรชฺยา.
ปยุชฺฌน : (นปุ.) การต่อสู้, การรบ, การต่อสู้ กัน, การรบกัน. ปปุพฺโพ, ยุชฺ สมฺปหาเร, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ชฺย เป็น ชฺฌ ยุ เป็น อน.
ผณิชฺชก : (ปุ.) เฉียงพร้ามอญ ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง กิ่ง ใบ และต้นสีม่วงดำ ใช้ทำยา เฉียงพร้ามอง ก็เรียก. วิ. ผณึ ชยตีติ ผณิชฺชโก. ผณีปุพฺโพ, ชี ชเย, อ. แปลง อี เป็น เอ เอ เป็น อย แปลง ย เป็น ก เป็น ผณิชฺฌก โดยแปลง ชฺ เป็น ฌฺ บ้าง. ผักคราด ตะไคร้ แมงลัก ก็ว่า.
โยคฺค : (วิ.) อัน...พึงประกอบ. ยุชฺ โยเค, โณฺย. แปลง ชฺย เป็น คฺค.
สมชฺชา : (อิต.) บริษัท, ภูมิที่ประชุม, สมัชชา(การประชุมเพื่อประโยชน์อย่างใดอย่างหนึ่งโดยเฉพาะ). วิ. สมชฺชนฺติ สํคจฺฉนฺติ มีลนฺตฺยสฺสนฺติ สมชฺชา. สํปุพโพ, อชฺ คมเน, อ, ชสฺส ทฺวิตฺตํ. อิตถิยํ อา. อภิฯ. สํปุพฺโพ, อญฺชฺ คติยํ, โณย. ลบ. ญฺสังโยค แปลง ชฺย เป็น ชฺช รูปฯ ๖๔๔. ส. สมชฺยา.
อาวชฺชนา : (อิต.) ความคำนึง, ความคิด, ความนึก. อาปุพฺโพ, วชฺ สงฺขาเร, ยุ. ลง ณฺย ปัจ. ประจำธาตุ ลบ ณฺ แปลง ชฺย เป็น ชฺช ยุ เป็น อน.
อิชฺชา : (อิต.) การบูชา, ฯลฯ, การชุมนุม. ยชฺ ธาตุ ณฺย ปัจ. แปลง ย เป็น อิ แปลง ชฺย เป็น ชฺช อา อิต.
อุชฺเชนิ อุชฺเชนี : (อิต.) อุชเชนี ชื่อนคร พิเศษของอินเดียโบราณ ๑ ใน ๒๐ วิ. อุคฺคํ ริปุ ชยติ ยตฺถ สา อุชฺเชนี. อุคฺคปุพฺโพ, ชี ชเย, ยุ. ลบ คฺค ซ้อน ช. อิ อี อิต.