Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: โต๊ะเขียนหนังสือ, หนังสือ, เขียน, โต๊ะ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : โต๊ะเขียนหนังสือ, 93 found, display 1-50
  1. ปณฺณ, - ณก : นป. ใบไม้, ใบไม้สำหรับเขียนหนังสือ, จดหมาย, หนังสือ, ขน, ปีก
  2. คคเนจร : (ปุ.) ดาว, ผีฟ้า, แกงได คือรอยกากบาทหรือขีดเขียนซึ่งคนไม่รู้หนังสือ ขีดเขียนไว้เป็นสำคัญ.
  3. จิหณ จิหน : (นปุ.) ลักษณะ, เครื่องหมาย, เบ้า, ร้อย, ตรา, แกงได (รอยกากบาท หรือรอย ขีดเขียน ซึ่งคนไม่รู้หนังสือเขียนไว้เป็น สำคัญ). จิหฺ ลกฺขเณ, ยุ. คัมภีร์สีหฬ เป็น จิณฺห.
  4. ฏีกา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกำหนด, ฎีกา ชื่อ ของหนังสือที่อาจารย์แต่งแก้อรรถกถา บางทีแก้ทั้งบาลีด้วยจัดเป็นคัมภีร์ชั้นที่ สาม ชื่อของหนังสือที่เขียนนิมนต์พระสงฆ์ ชื่อของคำร้องทุกข์ที่ถวายพระเจ้า แผ่นดิน ชื่อของคำคัดค้านที่ยื่นต่อศาล สูงสุด ชื่อของศาลสำหรับตัดสินความชั้น สูงสุด. ฏิกฺ คติยํ, อ, อิตฺถิยํ อา.
  5. มิจฉาทิฏฺฐ : (อิต.) ความเห็นผิด, ความเห็นที่ผิด, ลัทธิเป็นเครื่องเห็นผิด. มิจฺฉาทสฺสนํ มิจฺฉาทิฏฺฐ. แก้มิจฉาทิฏฐิ ได้โดย ๑.     ธัมมัสสวนะ ฟังธรรม ฟังบรรยายธรรม จากท่านผู้รู้ถูกต้อง เทศน์สอน อ่านหนังสือธรรม ที่ท่านผู้รู้ถูกต้องเขียน ๒. ธัมมานุสสรณะ หมั่นทบทวนคำสอน ๓.  ธัมมาสากัจฉา สนทนาธรรมกับท่านผู้รู้ถูกต้อง.
  6. อกฺขรผลก : ป. กระดานชนวน, กระดานดำ, แผ่นป้ายสำหรับเขียนหนังสือ
  7. อกฺขวิธิ : (ปุ.) แบบแห่งอักษร, แบบอย่างแห่งอักษร, กฎเกณฑ์แห่งอักษร, อักขวิธีตำราว่าด้วยวิธีเขียนและออกเสียงอ่านหนังสือให้ถูกต้อง.
  8. จิตฺเตติ : ก. วาด, เขียน, ทำให้วิจิตร, ทำให้เป็นสีต่างๆ
  9. โปตฺถ โปตฺถก : (ปุ. นปุ.) สมุด, หนังสือ, คัมภีร์, ตำรับ (ตำราที่กำหนดไว้เฉพาะแต่ละเรื่องละราย), ตำรา.
  10. อุลฺลิขติ : ก. หวี, ขูด, ขีด, เขียน
  11. คนฺถโสธน : (นปุ.) การชำระคัมภีร์, การชำระ หนังสือ.
  12. กตฺตุ : (ปุ.) นักการ คือพนักงานชั้นผู้น้อย มีหน้าที่นำหนังสือไปส่ง ณ ที่ต่าง ๆ ตามที่ได้รับคำสั่ง, พนักงาน. กตฺตุกมฺยตาฉนฺท
  13. กถา : (อิต.) วาจาเป็นเครื่องกล่าว, วาจาเป็น เครื่องกล่าวแสดง, คำพูด, คำกล่าว , คำ อธิบาย, ข้อประพันธ์, เรื่อง, กถา (สมุด หรือหนังสือที่แต่งขึ้น นิยายที่สำเร็จด้วย การแต่งขึ้น และมีความยืดยาว), ประพันธ กถาศาสตร์. วิ. กเถติ เอตายาติ กถา. กถียตีติ วา กถา. กถยเตติ วา กถา. กถนํ วา กถา. กถฺ กถเน วากฺยพนฺธเน จ, อ, อิตฺถิยํ อา. ส. กถา.
  14. กมฺมนิ : ป. ช่างเขียน
  15. กาก : (ปุ.) กา. นกกา, อีกา (ภาษาพูด). คำ กา นกกา นี้เดิมเขียน กาก์ นกกาก์ ปัจจุบันเขียน กา ตามพจนาฯ วิ. กาติ (กา อิติ) สทฺทํ กโรตีติ กาโก. กาปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, กฺวิ. กา สทฺเท วา, โก. กกฺ โลลิเย วา, โณ. ส. กาก.
  16. กิจฺจวตฺต : (นปุ.) ความประพฤติอัน...พึงทำ, ฯลฯ, ความประพฤติตามหน้าที่, เรียกกิจ ทางศาสนาที่จะพึงทำเป็นประจำ เช่น ทำ วัตรเช้า ทำวัตรเย็น เป็นต้นว่า กิจวัตร. กิจที่ทำเสมอ ๆ แม้มิใช่กิจทางศาสนาก็ เรียกกิจวัตรได้บ้าง ผู้เขียนมีความเห็นว่า ควรยกไว้เป็นศัพท์เฉพาะกิจทางศาสนา เหมาะกว่า.
  17. เกลาส : (ปุ.) เกลาสะ ไกลาส ชื่อภูเขา วิ. เก ชเล ลาโส ลสนํ ทิตฺติ อสฺสาติ เกลาโส. ลสฺ กนฺติยํ, โณ. ไทยเขียน ไกรลาส เพราะแทรก ร เข้ามา. ส. ไกลาส.
  18. คณฺฐ : (ปุ.) ตำรับ, ตำรา, คัมภีร์, สมุด, หนังสือที่แต่งขึ้น, หนังสือที่ร้อยกรองขึ้น. คนฺถฺ สนฺถมฺเภ, พนฺธเน จ, อ, นฺถสฺส ณฺโฐ.
  19. คนฺถการ : ป. ผู้แต่งหนังสือ, ผู้ร้อยกรอง, ผู้รจนาพระคัมภีร์
  20. โคมุตฺต : (นปุ.) เยี่ยวโค, โคมูตร. คำโคมูตร ไทยใช้เป็นชื่อของเครื่องหมายสุดเรื่องของ หนังสือรุ่นเก่ามีรูปดังนี้๛
  21. จิตฺตกมฺม : (นปุ.) การทำให้งาม, กรรมอันงาม, กรรมอันวิจิตร,จิตรกรรม.ไทยใช้จิตรกรรม ในความหมายว่า ศิลปการวาด เขียนศิลป การวาดภาพ ภาพเขียนที่สวยงาม.
  22. จิตฺตกร : (ปุ.) คนผู้ทำให้วิจิตร, ช่างเขียน, ช่าง วาดเขียน, ช่างวาดภาพ, จิตรกร. วิ. จิตฺตํ กโรตีติ จิตฺตกโร. จิตฺตปุพโพ, กรฺ กรเณ, อ.
  23. จิตฺตการ : (ปุ.) ช่างเขียน, ฯลฯ. ณ ปัจ.
  24. จิตฺตสาลา : อิต. ศาลาอันวิจิตร, ศาลาที่มีภาพเขียนสวยงาม, โรงแสดงภาพ
  25. จิตฺตาคาร : นป. เรือนอันวิจิตร, เรือนที่มีภาพเขียนสวยงาม, อาคารแสดงภาพ
  26. จินฺตามณี : (ปุ.) แก้วที่เกิดขึ้นตามใจนึก, จิน- ดามณี. ไทยใช้คำ จินดามณี ในความหมาย ว่า แก้วอันผลแก่เจ้าของดังใจนึก แก้วสาร- พัดนึก คือนึกอย่างไรได้อย่างนั้น อีกอย่าง หนึ่งเป็นชื่อของหนังสือแบบเรียนของไทย เล่มแรกแต่งในยุดกรุงศรีอยุธยา.
  27. จีร : (นปุ.) การเขียน, การตกแต่ง, ผ้าเปลือก ไม้, ผ้าปิดของลับ, ตะเข็บผ้า, ขนสร้อย ( ขนที่คอสัตว์เป็นพวงงาม?) พวงมาลัย, ตะกั่ว.
  28. จุลปิตุ จุลฺลปิตุ จุฬปิตุ จูฬปิตุ : (ปุ.) บิดาน้อย, อา ( น้องของพ่อ แต่ก่อนเขียนอาว์ ).
  29. ชาตกตฺถวณฺณนา : อิต. อรรถกถาชาดก, หนังสืออธิบายความชาดก
  30. ฏีกาจริย : ป. พระฎีกาจารย์, อาจารย์ผู้แต่งหนังสืออธิบายอรรถกถา
  31. ทาส : (ปุ.) ป่าว, คนรับใช้, คนใช้, ทาส. โบราณเขียน ทาษ. วิ ทาสนฺเตตสฺสาติทาโส. ทาสุ ทาเน, อ. ทาตพฺโพติ วา ทาโส. ทา ทาเน, โส. ส. ทาส.
  32. ทีฆ : (วิ.) ยาว, นาน, ช้า, ช้านาน, ยั่งยืน ยืน นาน (สิ้นความเสื่อม). คำนี้ มักเขียนผิด เป็นทีฆ พึงระวัง. ที ขเย, โฆ. ส. ทีรฺฆ.
  33. ทีปิกา : (อิต.) คบเพลิง, ตะเกียง, ทีปิกา ชื่อ คัมภีร์หนังสือ. ทิปฺ ทิตฺติยํ, อิโก, ทีโฆ. ฎีกาอภิฯ เป็น ทีปฺ ธาตุ.
  34. โทณี : (อิต.) เรือชะล่า โบราณเขียนฉะหล้า, สัดจอง (ทุ่น แพ เรือ), เรือโกลน. วิ. ทวติ วหตีติ โทณี. ทุณฺ คติหึสาสุ, อ, อิตฺถิยํ อี.
  35. นขลิขิต : (นปุ.) การขีดด้วยเล็บ, การเขียน ด้วยเล็บ, การเขียนทำเหมือนรูปเล็บ, นขลิขิต. ไทยใช้ นขลิต เป็นชื่อของเครื่อง หมายรูปดังนี้ ( ) เรียกว่าวงเล็บเปิด วงเล็บปิด.
  36. นขเลขา : (อิต.) การขีดด้วยเล็บ, การเขียน ด้วยเล็บ, รอยเล็บ, การเขียนที่เล็บ, การทาเล็บ.
  37. นวโกวาท : (ปุ.) โอวาทเพื่อภิกษุใหม่, คำสั่ง สอนสำหรับภิกษุและสามเณรผู้บวชใหม่, นวโกวาท ชื่อหนังสือเล่ม ๑ ซึ่งทางคณะ สงฆ์ประกาศใช้เป็นหลักสูตรนักธรรมชั้น ตรีและธรรมศึกษาชั้นตรี (ธ.ศ. ตรีนั้น ใช้เฉพาะส่วนธรรมวิภาคและคิหิปฏิบัติ).
  38. นิพนฺธ นิพฺพนฺธ : (ปุ.) การผูก, การต่อเนื่อง, การตั้งใจ, ความผูก, ฯลฯ, การแต่งหนังสือ. ส. นิพนฺธ.
  39. นิลฺเลข : ค. ซึ่งไม่มีรอยขีดเขียนหรือริ้วรอย, ซึ่งปราศจากขอบหรือริม
  40. ปฏคฺคิ : ป. ไฟประจำโต๊ะ
  41. ปฏิปณฺณ : นป. จดหมายตอบ, หนังสือตอบ
  42. ปฏิสาสน : นป. หนังสือตอบ, จดหมายตอบ, คำตอบ
  43. ปฐวีเลขา : อิต. รอยขีดเขียนบนพื้นดิน
  44. ปทภญฺชิกา : (อิต.) การลงบัญชี, หนังสือรายวัน.
  45. ปมาทปาฐ : ป. ข้อความที่เขียนด้วยพลั้งเผลอ, ข้อความคลาดเคลื่อน
  46. ปาลิ, ปาฬิ : อิต. แถว, แนว, สะพาน; ระเบียบ, แบบแผน; คัมภีร์ชั้นพุทธพจน์, ภาษาที่ใช้เขียนพระพุทธพจน์
  47. ปาสาณเลข, - ขา : ป., อิต. รอยเขียนบนหิน, ศิลาจารึก, การเขียนบนแผ่นหิน
  48. โปตฺถกาคาร : (ปุ. นปุ.) ร้านขายหนังสือ, ร้านหนังสือ.
  49. พฺยาธิ : (ปุ.) ภาวะอันเสียดแทง, ภาวะที่เบียดเบียน, ภาวะอันบีบคั้นใจ, ภาวะอันทำลาย, ความบีบคั้น, ความเจ็บไข้, โรค, พยาธิ. วิ. วิชฺฌตีติ วฺยาธิ วา. วิธฺ วิชฺฌนาพาธเนสุ, อิ. แปลง อิ ที่ วิ เป็น ย ลง อา อาคม. อภิฯ. คำ พยาธิ ในพจนาฯ ให้อ่านว่า พะยาด และให้ความหมายว่า ได้แก่ตัวเชื้อโรคชนิดหนึ่งที่เกิดในกายและเชื้อโรคอย่างหนึ่ง ที่เกิดจากผิวหนัง ผู้เขียนพจนาฯ มคธ นี้ ว่า ที่เป็นชื่อของโรคผิวหนัง อ่านเรียงพยางค์ว่า พะ-ยา-ธิ เหมาะกว่า.
  50. พฺรหฺมลิขิต : (นปุ.) รอยเขียนของพระพรหม, พรหมลิขิต (เส้นชี้ชะตากรรมของคนซึ่งเป็นไปตามอำนาจของกรรม).
  51. [1-50] | 51-93

(0.0140 sec)