Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: โทษา , then โทษ, โทษา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : โทษา, 143 found, display 1-50
  1. กลิ : (ปุ.) ความพ่ายแพ้, โทษ, ความชั่ว, บาป. วิ. กลียตีติ กลิ. กลฺ สํขฺยาเณ, อิ.
  2. กิพฺพิส : (นปุ.) บาป, โทษ, ความผิด. วิ. กโรติ อนิฏฺฐ ผลนฺติ กิพฺพิสํ. กรียตีติ วา กิพฺพิสํ. กรฺ กรเณ, อิพฺพิโส. กิลฺยเต สิถิลี กรียเต อเนนาติ วา กิพฺพิสํ. กลฺ สิถิเล. ลบที่สุดธาตุ.
  3. กิพฺพิส, กิพฺพิสก : นป. อกุศล, โทษ, การกระทำผิด
  4. รนฺธ : นป. รู, ช่อง, โพรง; พิรุธ, โทษ
  5. อธิกรณ : (นปุ.) การทำยิ่ง, โทษชาตเป็นเครื่องทำยิ่ง, โทษ, คดี, เหตุ, เรื่อง, เรื่องราว, อธิกรณะเป็นคำเรียกบทที่ประกอบสัตมีวิ-ภัติ, อธิกรณ์ คือข้อพิพาท หรือที่ถกเถียงกันเมื่อเกิดขึ้นแล้วต้องทำ ต้องระงับ.อธิบทหน้ากรฺธาตุยุปัจ.ส.อธิกรณ.
  6. อนุวทติ : ก. กล่าวตำหนิ, โทษ
  7. อปจาร : ป. ความเสื่อม, โทษ, การกระทำผิด
  8. กกฺกส : (วิ.) ร้าย, หยาบ, หยาบคาย, หยาบ ช้า, ทารุณ, แข็ง, กล้าแข็ง, สาหัส, ไม่เป็น ที่รัก, ไม่เป็นมงคล, ไม่ยังใจให้เอิบอาบ, เปลื่อยเน่า, โทษ. วิ. กิพฺพิสํ กโรตีติ กกฺก โส. กรฺ กรเณ, อโส, รสฺส กตฺตํ. กฺสํโยโค.
  9. ชส : (ปุ.) โทษ. ชส หึสายํ, อ.
  10. อกุสลกมฺม : (นปุ.) กรรมมิใช่ความฉลาด, กรรมมิใช่ความดี, กรรมชั่วร้าย, อกุศลกรรม (โทษ บาป).
  11. อาคุ : (นปุ.) ความชั่ว, บาป, วิ. อาคนฺตพฺพํคจฺฉติเอเตนาติอาคุ. อา ปีฬนํคจฉตีติ วาอาคุ. อาปุพฺโพคมฺคติยํ, ณุ, มฺโลโป. ความผิด, โทษ. วิ. อปคจฺฉติอเนนาติอาคุ.อปบทหน้าลบปทีฆะอเป็นอา.
  12. อาทีนว : (ปุ.) โทษอันยังทุกข์ให้เป็นไปโดยยิ่ง, โทษเครื่องถึงทุกข์, โทษ.วิ.อา ภุโสทีนํวายติคมยตีตฺยาทีนโว.อาทีนปุพฺโพ, วิคมเน, อ.อาทีนํวาติอธิคจฺฉติเอเตนาติวาอาทีนโว.อาทีนปุพฺโพ, วาอาทาเน, อ.หรือตั้งอาปุพฺโพ, ทีนฺทุคฺคตภาเว, โว. ส.อาทีนว.
  13. อุปวาท : (ปุ.) การเข้าไปว่าร้าย, การกล่าว โทษ. วิ. โทสกฺขาเณน วทนํ อุปวาโท. อุปปุพฺโพ, วทฺ วจเน, โณ.
  14. อาทีน : (นปุ.) ทุกข์, โทษ.อาปุพฺโพ, ทีขเย, โน, อีโนวา.ทีนฺทุคฺคตภาเววา, อ.
  15. กตกิพฺพิส : ค. ผู้มีโทษ, ผู้มีความผิด
  16. กตาปราธ : ค. ผู้ต้องโทษ, ผู้มีความผิด
  17. กมฺมกรณ : (นปุ.) โทษชาตเป็นเครื่องทำซึ่ง กรรม, การทำซึ่งกรรม, การทำกรรม, การลงโทษ, กรรมกรณ์ (เครื่องสำหรับ ลงอาชญา). กรรมกรณ์ไทยใช้เป็นกิริยา ว่าลงโทษ. ส. กรฺมกรณ.
  18. กมฺมส : ป. โทษ, ความด่างพร้อย, รอยเปื้อน
  19. กาจี : ค. ใช้ในรูปปฏิเสธอย่างเดียวเป็น อกาจี = ไม่มีโทษ, ไม่มีที่ติ
  20. กายกลิ : นป. กายโทษ, สิ่งชั่วช้าที่อยู่ในกาย
  21. กุลุส : (นปุ.) โทษ, ความชั่ว, ความเดือดร้อน, บาป. ดู กลุส.
  22. กุสล : (วิ.) มีฝีมือ, ฉลาด, ชำนาญ, คล่อง, คล่องแคล่ว, มั่งคั่ง, งาม, ดี. เหมาะ, ควร, สมควร, ถูก (ไม่ผิด), ถูกต้อง, ไม่มีโทษ, ไม่มีโรค, สบาย. ส. กุศล.
  23. ขม : (ปุ.) ความทน, ฯลฯ, กษมะ กษมา (การขอให้อดโทษ การขอขมาโทษ ภาษาพูดเป็นขอขมา ขอษมา). ส. กษมา.
  24. ขมน : (นปุ.) ความทน, ฯลฯ, กษมะ กษมา (การขอให้อดโทษ การขอขมาโทษ ภาษาพูดเป็นขอขมา ขอษมา). ส. กษมา.
  25. ขมา : (อิต.) ความทน, ฯลฯ, กษมะ กษมา (การขอให้อดโทษ การขอขมาโทษ ภาษาพูดเป็นขอขมา ขอษมา). ส. กษมา.
  26. ขมาปน : นป. การบอกให้ยกโทษให้, การให้ขอขมา
  27. ขมาเปติ : ก. บอกให้ยกโทษให้, ขอโทษ, ขออภัย
  28. ขิฑฺฑปโทสิก : ค. ผู้อันความเพลิดเพลินประทุษร้าย คือ ได้รับโทษจากการเล่น
  29. เขฬสิก, เขฬากปฺป : ค. ผู้กลืนกินน้ำลาย (เป็นคำที่หยาบคายหรือใส่โทษ), ผู้ติดในลาภสักการะ
  30. ครหก : ค. ผู้ให้ร้าย, ผู้ใส่โทษ, ผู้ติเตียน
  31. ครหณ : นป. การติเตียน, การกล่าวโทษ, การใส่ร้าย
  32. ครหติ : ก. ติเตียน, กล่าวโทษ, ใส่ร้าย, นินทา, ด่า, ว่าร้าย
  33. จกฺขุทุพฺพล : (วิ.) ผู้มีจักษุมีกำลังอันโทษประ ทุษร้ายแล้ว, ผู้มีตาอ่อนแอ (ตาเสื่อมตา เสีย).
  34. จิตฺตกลิ : ป. ความชั่วร้ายแห่งจิต, โทษของจิต, จิตที่ชั่วช้า, จิตที่ต่ำทราม
  35. ฉทติ : ก. กล่าวโทษ, โพนทะนา, ติเตียน
  36. ฉิทฺทคเวสี : ค. ผู้เพ่งโทษคนอื่น, ผู้คอยจับผิดผู้อื่น, ผู้คอยมองหาจุดอ่อนผู้อื่น
  37. เฉกปาปก : (ปุ.) คุณและโทษ, ความดีและ ความชั่ว.
  38. ชนวาท : (ปุ.) การกล่าวโทษ. ชส + วาท แปลง ส เป็น น.
  39. ชมฺม : (วิ.) ต่ำ, เลว, ถ่อย, ทราม, ลามก, ผู้ไม่ ใคร่ครวญในคุณและโทษแล้วทำ. วิ. คุณ โทเส อนิสมฺม โย กโรติ โส ชมฺโม.
  40. ติณโทส : ค. มีหญ้าเป็นโทษ; อันเสียหายเพราะหญ้า
  41. ถุลฺลจฺจย : (วิ.) มีโทษหยาบ
  42. ถูลวชฺช : นป. โทษชั่วหยาบ, โทษหนัก
  43. ทุฎฺฐวจน : (นปุ.) ถ้อยคำอันโทษประทุษร้าย แล้ว, คำชั่ว, ถ้อยคำชั่ว.
  44. ทุฏฺฐ : (วิ.) คนอันโทษประทุษร้ายแล้ว, คนฉุนฉียว, ฯลฯ. ทุสฺ โทสเน, โต.
  45. ทุฏฺฐจิตฺต : ค. ผู้มีจิตอันโทษประทุษร้ายแล้ว, ผู้มีจิตชั่วร้าย, ผู้มีใจทราม
  46. ทุปญฺญ ทุปฺปญฺญ : (วิ.) มีปัญญาอันโทษประทุษร้ายแล้ว, มีปัญญาชั่ว, มีปัญญา ทราม, มีปัญญาเสีย. วิ ทุฏฺฐา ปญฺญา ยสฺส โส ทุปญฺโญ ทุปฺปญฺโญ วา.
  47. ทุพฺพล : (วิ.) มีกำลังอันโทษประทุษร้ายแล้ว, มีกำลังชั่ว, มีกำลังเสีย, มีกำลังทราม, ไม่มีกำลัง, ทรพล, ทรพล. ส. ทุรฺพล, ทุรฺพฺพล.
  48. ทุพฺพลภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่ง...ผู้มีกำลัง อันโทษประทุษร้ายแล้ว, ฯลฯ, ความเป็นคนทุรพล, ความเป็นผู้ทุรพล. วิ.ทุพฺพลสฺส ภาโว ทุพฺพลภาโว. ไทยใช้คำทุพพลภาพ ในความว่า ไม่มีกำลังที่จะประกอบการงาน ความเสื่อมถอยกำลัง อ่อนเพลียไม่สมประกอบ.
  49. ทุพฺพลฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่ง...ผู้มีกำลังอันโทษประทุษร้ายแล้ว, ฯลฯ. วิ. ทุพฺพลสฺส ภาโว ทุพฺพลฺยํ. ณฺย ปัจ. ภาวตัท.
  50. ทุมน ทุมฺมน : (วิ.) มีใจอันโทษประทุษร้าย แล้ว วิ. ทุฏฺโฐ มโน ยสฺส โส ทุมโน ทุมฺมโน วา. มีใจชั่ว, มีใจชั่วร้าย วิ. ทุ ทฏฺโฐ มโน อสฺสาติ ทุมโน. เสียใจ ยินร้าย วิ. ทุฏฺฐุ ทุกฺขิตํ วา มโน ยสฺส โส ทุมโน. ศัพท์ หลังซ้อน มฺ.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-143

(0.0288 sec)