Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: โพธิปาทป, โพธิ, ปาทป , then บาทบ, ปาทป, พธ, พธปาทป, โพธิ, โพธิปาทป .

ETipitaka Pali-Thai Dict : โพธิปาทป, 47 found, display 1-47
  1. โพธิปาทป : ป. ต้นโพธิ
  2. โพธิ : (ปุ.) โพธิ์ ไม้โพธิ์ ต้นโพธิ์ ชื่อต้นไม้ ซึ่งเจ้าชายสิทธัตถะเมื่อทรงผนวชเป็นพระมหาบุรุษแสวงหาโมกขธรรมได้เสด็จประทับบำเพ็ญเพียรแล้วได้ตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้า. วิ. สพฺพญฺญุตญฺ ญาณํ พุชฺฌติ เอตฺถาติ โพธิ. พุธฺ อวคมเน, อิ.
  3. ปาทป : ป. ผู้ดื่มด้วยเท้า, ต้นไม้
  4. โพธิรุกฺข : ป. ดู โพธิปาทป
  5. โพธิปกฺขิย : (วิ.) มีในฝ่ายแห่งความตรัสรู้, เป็นในฝ่ายแห่งความตรัสรู้, เป็นไปในฝักฝ่ายแห่งความตรัสรู้. วิ. โพธิยา ปกฺเขภโว โพธิปกฺจขิโย. อิย ปัจ. ชาตาทิตัท. โพธิยา ปกฺเข ปวตฺโต โพธิปกฺขิโย. โพธิสฺส วา ปกฺเข ภโว โพธิปกฺขิโย. โพธิ ใน วิ. นี้เป็น ปุ.
  6. โพธิปริปาก : ป., โพธิปาจน นป. ความแก่รอบแห่งปัญญาเป็นเครื่องตรัสรู้
  7. โพธิปูชา : อิต. การบูชาต้นโพธิ
  8. โพธิมณฺฑ : (ปุ.) ประเทศเป็นที่ผ่องใสแห่งปัญญาชื่อว่า โพธิ, ประเทศเป็นที่ผ่องใสแห่งโพธิญาณ.
  9. โพธิมห : ป. ดู โพธิปูชา
  10. โพธิมูล : นป. โคนโพธิ
  11. โพธิรุกฺขมูล : (นปุ.) ควงแห่งต้นไม้ชื่อโพธิ.
  12. โพธิองฺคณ : นป. บริเวณต้นโพธิ์, เนินโพธิ, ลานต้นโพธิ
  13. ปาทปริกมฺม : นป. การบริกรรมเท้า, การนวดเท้า
  14. ปาทปริจาริกา : อิต. หญิงผู้บำเรอแทบเท้า, เมีย, ภรรยา
  15. โพธิฏฺฐาน : นป. ภาวะหรือฐานะแห่งการตรัสรู้
  16. โพธิปกฺขิก, โพธิปกฺขิย : ค. (ธรรม) ซึ่งเป็นฝักฝ่ายแห่งการตรัสรู้, ซึ่งเป็นแนวทางแห่งการตรัสรู้
  17. โพธิปกฺขิยธมฺม : (ปุ.) ธรรมเป็นไปในฝักฝ่ายแห่งปัญญาเป็นเครื่องตรัสรู้, ธรรมเป็นไปในฝักฝ่ายแห่งความตรัสรู้, ธรรมเป็นไปในฝักฝ่ายแห่งธรรมสามัคคีเครื่องตรัสรู้, ธรรมเป็นไปในฝ่ายแห่งการตรัสรู้, ธรรมเป็นไปในฝักฝ่ายแห่งการบรรลุ (โลกุตตรธรรม).
  18. โพธิสตฺต : (ปุ.) สัตว์ผู้มีปัญญาเป็นเครื่องตรัสรู้, มนุษย์ผู้มีปัญญาเป็นเครื่องตรัสรู้, บุคคลผู้ข้องอยู่ในพระโพธิญาณ, พระโพธิสัตว์ คือ สัตว์ผู้ข้องอยู่ในพระโพธิญาณ ได้แก่ ท่านผู้จะได้ตรัสรู้เป็นพระพุทธเจ้า.
  19. โพธิสมฺภาร : (ปุ.) บารมีธรรมเป็นเครื่องอุดหนุนแก่พระโพธิญาณ, โพธิสมภาร คือ บุญบารมีที่ได้สะสมไว้แต่หนหลังบุญบารมีของพระมหากษัตริย์.
  20. มชฺฌิมโพธิ : (อิต.) เวลาเป็นที่ตรัสรู้มีในท่ามกลาง, มัชฌิมโพธิ คือช่วงระยะเวลาตอนกลาง.
  21. มชฺฌิมโพธิกาล : (ปุ.) กาลเป็นที่ตรัสรู้มีในท่ามกลาง, มัชฌิมโพธิกาล คือกาลเป็นไประหว่างปฐมโพธิกาลและปัจฉิมโพธิกาลได้แก่ เรื่องพระพุทธประวัติระหว่างปฐมโพธิกาลและปัจฉิมโพธิกาล.
  22. สมฺมาสมฺโพธิ : (อิต.) ความตรัสรู้เองโดยชอบ, ความตรัสรู้ด้วยพระองค์เองโดยชอบ, ปัญญาเป็นเครื่องตรัสรู้เองโดยชอบ, ญาณเป็นเครื่องตรัสรู้เองโดยชอบ, อนาวรณญาณ. อนาวรณญฺญาณํ สมฺมาสมฺโพธิ.
  23. ขุทฺทปาทป : (ปุ.) กอไม้ วิ. ขุทฺโท อวุทฺธิป- ปตฺโต ปาทโป ขุทฺทปาทโป.
  24. ติณปาทป : (ปุ.) ต้นไม้จำพวกติณชาต ( ไม่มี แก่น ) คือ นาลิเกร ตาฬี เกตกี ขชฺชุรึ ปูคหินตาล.
  25. ปเทสโพธิสตฺต : ป. ผู้เป็นพระโพธิสัตว์เพียงบางส่วน คือประกอบด้วยลักษณะของพระโพธิสัตว์แต่เพียงบางประการ
  26. สมฺโพธิ : (อิต.) ปัญญาเป็นเครื่องรู้เอง, ฯลฯ, ปัญญาชื่อสมโพธิ, ความตรัสรู้โดยชอบ, ความตรัสรู้เอง, ความตรัสรู้พร้อม, ความตรัสรู้, อิ ปัจ.
  27. สมฺโพธิยงฺค : (นปุ.) องค์แห่งปัญญาเป็นเครื่องรู้เอง, ฯลฯ. สมโพธิ+องค ยฺ อาคม.
  28. อภิสมฺโพธิ : (อิต.) ปัญญาเป็นเครื่องตรัสรู้ยิ่ง, ความตรัสรู้พร้อมยิ่ง, ความรู้พร้อมยิ่ง, ความรู้พร้อมด้วยปัญญาอันยิ่ง, ความตรัสรู้เองด้วยปัญญาอันยิ่ง, ความรู้เองด้วยปัญญาอันยิ่ง.
  29. อุทฺทาลปาทป : (ปุ.) ราชพฤกษ์, คูน ?
  30. อุทปาทป : (ปุ.) ชีวะที่ดื่มน้ำด้วยราก, ต้นไม้.
  31. สมฺมาสมฺพุทธฺ : (ปุ.) พระสัมมาสัมพุทธะ พระนามของพระพุทธเจ้าทั้งปวง, พระสัมมาสัมพุทธเจ้า. วิ. สมฺมา อวิปริเตน สํ อตฺตนา สมฺพธมฺเม อพุชฺฌีติ สมฺมาสมฺพุทฺโธ. สมฺมา ฯเปฯ พุชฺฌตีติ วา สมฺมาสมฺพุทฺโธ. สมฺมาสํปุพฺโพ, พุธฺ, โพธเน, โต. สมฺมาสมฺโพธิโยคา วา สมฺมาสมฺพุทฺโธ. สมฺมา สามํ พุทฺธตฺตา วา สมฺมาสมฺพุทฺโธ.
  32. ปาทสมฺพาหน : นป. ดู ปาทปริกมฺม
  33. อสฺสตฺถ : (ปุ.) อัสสัตถพฤกษ์พระมหาบุรุษทรงประทับบนบัลลังก์ซึ่งตั้งอยู่โคนต้นไม้นี้บำ-เพ็ญเพียรแล้วได้ตรัสรู้.อมฺหากํภควโตโพธิรุกฺโข.แปลว่าต้นไม้ที่ม้าต้องการ, ต้นไม้ที่ม้าชอบบ้าง.อสฺส+อตฺถ.
  34. โพธ : (ปุ.) อันรู้, อันตรัสรู้, อันเข้าใจ, อันฉลาด, ความรู้, ฯลฯ. พุธฺ โพธเน, โณ.
  35. พุธ : (วิ.) ผู้รู้, ผู้มีปรีชา, ผู้มีปัญญา.
  36. นิพนฺธน : (นปุ.) เหตุ, มูลเค้า. วิ. นิสฺเสเสน อตฺตโน ผลํ พนฺธติ ปวตฺเตตีติ นิพนฺธนํ. นิปุพฺโพ, พธฺ พนฺธ พนฺธเน, ยุ. ส. นิพนฺธน.
  37. ปโพธ : (ปุ.) การตื่นขึ้น, การบรรลุ, การตรัสรู้. ปปุพฺโพ, พุธฺ อวคมเน, โณ.
  38. พธก : (วิ.) ผู้ผูก, ฯลฯ. พธฺ พนฺธเน, ณฺวุ.
  39. พธิร : (ปุ.) คนหนวก. พนฺธฺ พนฺธเน, อิโร, นฺโลโป. พธฺ พนฺธเน วา, อิโร.
  40. พีภจฺฉา : (อิต.) ความติดพัน, ความผูกพัน, ความเกี่ยว เนื่อง, ความเกี่ยวเนื่องกัน. พธฺ ธาตุในความผูก ฉ ปัจ. อาขยาต อ ปัจ. นามกิตก์ เท๎วภาวะ พ แปลง อ เป็น อี แปลง พ หน้าธาตุเป็น ภ แปลง ธฺ เป็น จฺ อา อิต.
  41. พุชฺฌน : (นปุ.) ความรู้, ความรู้ตลอด, ความเข้าใจ. พุธฺ โพธเน, ยุ. ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ธฺย เป็น ชฺฌ ยุ เป็น อน.
  42. พุทฺธ : (วิ.) ผู้รู้, ผู้ตรัสรู้. พุธฺ โพธเน, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบที่สุดธาตุ.
  43. พุทฺธิ : (อิต.) อันรู้, ความรู้, ความตรัสรู้, ความบรรลุ, ปัญญาเป็นเครื่องรู้, ปรีชา, ปัญญา, วิ. พุชฺฌเต ตายาติ พุทฺธิ. พุชฺฌนํ วา พุทฺธิ. พุธฺ อวคมเน, ติ. แปลง ติ เป็น ทฺธิ ลบที่สุดธาตุ.
  44. โพชฺฌ : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องตรัสรู้, ธรรมเป็นเครื่องบรรลุ. พุธฺ โพธเน, โณ, ลง ย ปัจ. ประจำหมวดธาตุ แปลง ธฺย เป็น ชฺฌ พฤทธิ อุ เป็น โอ ด้วยอำนาจ ณ ปัจ.
  45. โพธน : (นปุ.) อันรู้, อันตรัสรู้, อันเข้าใจ, อันฉลาด, ความรู้, ฯลฯ. พุธฺ โพธเน, โณ.
  46. โพเธตุ : (วิ.) ผู้ยังหมู่สัตว์ให้ตื่น, ผู้ปลุก. พุธฺ ธาตุในความตื่น เณ ปัจ. เหตุ. ตุ ปัจ.
  47. สมฺโพธ : (วิ.) รู้เอง, ตรัสรู้เอง, รู้โดยชอบ, ตรัสรู้โดยชอบ, ทรงรู้เอง, ฯลฯ. สํ สมฺมา วา พุธฺ อวคมเน, โณ.
  48. [1-47]

(0.0710 sec)