โมฆ : (วิ.) เปล่า, ว่าง, ปราศจากประโยชน์, หาประโยชน์มิได้. มุหฺ เวจิตฺเต, อ, อุสฺโส, หสฺส โฆ. มุหฺ มุจฺฉายํ, โฆ, หฺโลโป.
กิริย : นป., กริยา, กิริยา อิต. กิริยา, กรรม, การกระทำ
กุกมฺม : (นปุ.) กรรมอันบัณฑิตเกลียด, กรรม น่าเกลียด, กรรมชั่ว. กุจฺฉิต+กมฺม.
กมฺมสฺสก : (นปุ.) กรรมอันเป็นของตน, กรรม เป็นของตน, กรรมของตน. วิเสสนุต. กัม. กมฺม+สก ซ้อน สฺ คำว่าของ เป็นคำแปล ของคำ สก.
กมฺม : (วิ.) อันเขาย่อมทำ, อันเขาทำ, เป็น เครื่องอันเขาทำ, ฯลฯ.
มฆ : ป., มฆา อิต. ชื่อดาวฤกษ์
ทุกฺกฎ : (นปุ.) กรรมอัน...ทำชั่วแล้ว, กรรม ชั่ว, การทำเสีย, ความชั่ว, บาป, ทุกกฎ ชื่ออาบัติกองที่ ๖ เป็นอาบัติเบา แม้จะ เป็นอาบัติเบา ภิกษุ-สามเณรล่วงบางข้อ ก็ทำให้ศรัทธาของพระพุทธศาสนิกชนตกไปได้ เช่น นุ่งห่มไม่เรียบร้อย พูดจาไม่สำรวม เป็นต้น พึงระวัง. ศัพท์เป็น ทุกฺกต แปลง ต เป็น ฏ.
อุปปีฬกกมฺม : (นปุ.) กรรมบีบคั้น, กรรม เบียดเบียนกรรมอื่น ๆ (ได้แก่ อกุศลกรรม ๑๒ มหากุศลกรรม ๘), อุปปีฬกกรรม (กรรมที่เบียดเบียนชนกกรรมซึ่งให้ผลอยู่ แล้วให้มีกำลังลดลง กรรมที่เบียดเบียนรูป นามซึ่งเกิดจากชนกกรรมให้มีกำลังลดลง).
กมฺมชวาต กมฺมชฺชวาต : (ปุ.) ลมเกิดแล้วแต่ กรรม ลมอันเกิดแต่กรรม, ลมเกิดแต่ กรรม, ลมเบ่ง, กัมมชวาต กัมมัชชวาต กรรมัชวาต (ลมเกิดในครรภ์เวลาคลอด บุตร). ส. กรฺมชวาต.
กมฺมวิปาก : (ปุ.) ผลอันเกิดแต่กรรม, ผลของ กรรม. ส. กรฺมวิปาก, กรฺมฺมวิปาก.
ครุกมฺม ครุกกมฺม : (นปุ.) กรรมหนัก. กรรม หนักฝ่ายกุศลได้สมาบัติ ๘ ฝ่ายอกุศล ได้แก่ อนันตริยกรรม ๕. วิ. กมฺมนตเรหิ ปฏิพาหิตํ อสกฺกุเณยฺยตฺตา ครํ ครุกํ วา กมฺมนฺติ ครุกมฺมํ ครุกกมฺมํ วา.
ผาติกมฺม : (นปุ.) การทำให้เจริญ, ผาติ กรรม ชื่อคำที่ใช้ในวินัยสงฆ์ว่าด้วยการจำหน่ายครุภัณฑ์ โดยเอาของสงฆ์ที่เลวกว่า (มีค่าน้อยกว่า) แลกของดี (มีค่ามากกว่าให้สงฆ์) ฯลฯ.
กรณีย : (นปุ.) กิจอัน...พึงทำ. กรรม...อันพึง ทำ, กิจที่ควรทำ, กิจที่พึงทำ, กิจที่ต้องทำ, กิจจำเป็น, กรัณย์. กรฺ กรเณ, อนีโย, นสฺส ณตฺตํ. ที่เป็นกิริยา ก็เป็น กรณีย เหมือนกัน.
ชนก : (วิ.) (กรรม) อันยังวิบากขันธ์และกัม- มัชรูปให้เกิด วิ. วิปากขนฺธกกมฺมชฺชรูปา- นิ ชเนตีติ. ชนกํ. ชนฺ ชนเน, ณฺวุ.
ชนกกมฺม : (นปุ.) กรรมอันยังสัตว์ให้เกิด, กรรมอันนำให้สัตว์เกิด, ชนกกรรม (กรรม ที่ยังผู้เคลื่อนจากภพหนึ่งให้เกิดในอีกภพ หนึ่ง กรรมอันเป็นต้นเค้าทั้งข้างดีและ ข้างชั่ว).
ทุกร ทุกฺกร : (นปุ.) กรรม...อันได้โดยยาก, ความเพียรอัน... ทำได้โดยยาก. ศัพท์ต้น ไม่ซ้อน กฺ.
นิปฺผนฺนรูป : (นปุ.) รูปสำเร็จ, นิปผันนรูป คือรูปอันเกิดจาก กรรม อุตุ และ อาหาร.
อานนฺตริก, - ริย : ค. (กรรมที่ให้ผล) ไม่มีระหว่าง, (กรรม) ที่ไม่ให้กรรมอย่างอื่นเข้ามาแทรก, ติดต่อ, สืบเนื่อง, ทันทีทันใด
อุโปสถกมฺม : (นปุ.) การทำอุโบสถ, อุโบสถ กรรม (การสวดพระปาติโมกข์).
กมฺมธารย : (วิ.) (สมาส) อันทรงไว้ซึ่งกรรม, อันทรงไว้ซึ่งของสองสิ่งเพียงดังกรรม. วิ. กมฺมมิว ทฺวยํ ธารยตีติ กมฺมธารโย.
กมฺมโยนิ : (วิ.) มีกรรมเป็นกำเนิด ว. โยนิกํ กมฺมํ ยสฺส โส กมฺมโยนิ. ลบ ก สกัด แล้วกลับบทหน้าไว้หลัง.
กายวาจาทิ : (วิ.) มีกายกรรมและวจีกรรม เป็นต้น. ลบ กมฺม หลัง กาย, วาจา ออก. มีกายทวาร และวจีทวาร เป็นต้น. ลบ ทฺวาร ออก.
ตป (โป) กมฺม : นป. กรรมคือตบะ, การบำเพ็ญตบะ, การทรมานกาย
อุปสมฺปทกมฺม : (นปุ.) การทำการอุปสมบท, อุปสมบทกรรม คือการบวชเป็นภิกษุ. อุปสมฺปทา+กมฺม รัสสะ อา เป็น อ.
กมฺมคติ : (อิต.) ภูมิเป็นที่ไปแห่งกรรม, ความเป็นไปแห่งกรรม, ทางดำเนินแห่งกรรม, ส. กรฺมคติ.
กมฺมครุ : ค. ผู้หนักในกรรม, ผู้เคร่งในการงาน
กมฺมชรูป กมฺมชฺชรูป : (นปุ.) รูปอันเกิดแต่ กรรม, กัมมชรูป กัมมัชชรูป คือรูปที่ กรรมสร้าง มองด้วยตาเนื้อไม่เห็น เกิด พร้อมกับปฏิสนธิจิต เพราะจิตยังอาศัยรูป นี้อยู่ และเกิดดับเป็นสันตติ จนถึงจุติจิต (มรณสันนวิถี). ส. กรฺมชรูป.
กมฺมชวาต : ป. ลมกรรมชวาต, ลมเกิดแต่กรรม, ลมเบ่ง
กมฺมทายาท : (วิ.) ผู้รับมรดกของกรรม, ผู้มี กรรมเป็นมรดก.
กมฺมปฏิสรณ : (วิ.) มีกรรมเป็นที่พึ่ง, มีกรรม เป็นที่พึ่งอาศัย.
กมฺมผล : นป. ผลของกรรม
กมฺมพนฺธุ : (วิ.) มีกรรมเป็นพวกพ้อง, มีกรรม เป็นเผ่าพันธุ์.
กมฺมพล : นป. กำลังแห่งกรรม, อำนาจของกรรม
กมฺมพหุล : ค. ผู้มากไปด้วยกรรม
กมฺมภูมิ : อิต. ภูมิของกรรม, ชื่อของกรรม
กมฺมมูล : ค. มีกรรมเป็นมูลเหตุ
กมฺมมูลก : ค. ซึ่งเกิดขึ้นเพราะมีกรรมเป็นมูล
กมฺมโยนิ, - นี : ค. มีกรรมเป็นกำเนิด
กมฺมวาจก : (ปุ.) กรรมวาจก ชื่อวาจก ๑ ใน ๕ วาจกที่ยกกรรม คือสิ่งที่ถูกทำเป็นประธาน (กล่าวกรรมเป็นประธาน). ส. กรฺมวาจก.
กมฺมวาจา : (อิต.) กรรมวาจา คือคำกล่าว แสดงงานที่สงฆ์จะต้องทำ คำประกาศกิจ การในท่ามกลางสงฆ์ในพิธีของสงฆ์. ส. กรฺมวาจา.
กมฺมวาจาจริย : (ปุ.) อาจารย์ผู้สวดกรรมวาจา คือคู่สวดรูปที่นั่งทางขวามือของอุปัชฌาย์.
กมฺมวาท : ป. ความเห็นว่ากรรมคือการกระทำมีอยู่
กมฺมวาที : (วิ.) ผู้กล่าวซึ่งกรรมโดยปกติ, ผู้มี ปกติกล่าวว่ากรรม, ผู้มีปกติกล่าวว่ากรรม อันสัตว์ทำแล้วชื่อว่าเป็นอันทำ, ผู้มีปกติ กล่าวว่ากรรมให้ผล, กรรมวาที (ผู้เชื่อว่า การทำมีผลที่ตนจะต้องได้รับ ผู้เชื่อว่าผล ของกรรมมีอยู่)
กมฺมวิสุทฺธิ : อิต. ความบริสุทธิ์แห่งกรรม
กมฺมวิเสส : ป. ความวิเศษแห่งกรรม, ความแตกต่างแห่งกรรม
กมฺมเวค : ป. กำลังแห่งกรรม, ความเร็วแห่งกรรม
กมฺมโวสฺสคฺค : ป. ความแตกต่างแห่งกรรม, การจำแนกแห่งกรรม
กมฺมสมฺปตฺติ : (อิต.) การถึงพร้อมแห่งกรรม, ความถึงพร้อมแห่งกรรม,สมบัติของกรรม, การถึงพร้อมแห่งการงาน, ความพิจารณา การงาน, ความตรวจตราการงาน.
กมฺมสมฺภว : ค. เกิดขึ้นแต่กรรม, มีกรรมเป็นแดนเกิด
กมฺมสมาทาน : (นปุ.) การยึดมั่นในกรรม, การถือกรรม.