มร : (ปุ.) การตาย, ความตาย. มรฺ ธาตุ อ, ยุ ปัจ. มรณะที่ใช้ในภาษาไทยใช้เป็นกิริยาว่า ตาย ศัพท์มคธที่เป็นนามเมื่อนำมาใช้ในภาษาไทยแล้วใช้เป็นกิริยามีมากมาย.
มรติ : ก. ตาย
ตามร : (นปุ.) น้ำ, ทองแดง, ตามร. ส. ตามฺร.
มรุ : (ปุ.) เทวดา วิ. ทีฆายุกาปิ สมานา มรนฺติ สีเลนาติ มรุ. มรฺ ปาณจาเค, อุ. ภูเขา, ที่กันดารน้ำ, ทะเลทราย.
มุร : (ปุ.) นกยูง. มุรฺ สํเวทเน, อ.
โมร : (ปุ.) นกยูง. มุรฺ สํเวทเน, โณ. แปลง อุ เป็น โอ. มิ หึสายํ วา, อโร. แปลง อิ เป็น โอ หรือ ลง โอร ปัจ. มา รวเน วา, โอโร. มหิยํ รวตีติ วา โมโร. มหิปุพฺโพ, รุ สทฺเท, อ, หิโลโป. แปลง อ ที่ ม เป็น โอ.
กรมร : (ปุ.) ชนผู้จะพึงตายด้วยมือแห่งศัตรู วิ. สตฺตูนํ กเรน มริตพฺโพติ กรมโร. ชน ประหนึ่งว่าตายในมือ, เชลย, คนคุก. ส. กรมรินฺ.
ฆสฺมร : (ปุ.) คนโลภอาหาร, คนตะกละ. ฆสฺ อทเน, มโร.
จมร, - มรี : ป. จามรี, ชื่อเนื้อทรายมีขนอ่อนละเอียด หางยาวเป็นพู่สัตว์บดเอื้องอยู่ในจำพวกโค
ชมฺมร : (ปุ.) ต้นมะกรูด, ต้นมะนาว.
ฌามร : (นปุ.?) เหล็กในปั่นฝ้าย, เข็มเย็บผ้า.
ฑามร : ป. การทะเลาะวิวาท, ความโกลาหล
ธมฺมรติ : (อิต.) ความยินดีในธรรม.
เมรุ : (ปุ.) เมรุ ชื่อภูเขากลางจักรวาล, ภูเขา เมรุ. วิ. มิณาติ สพฺเพ ปณฺณเต อตฺตโน อุจฺจตรตฺเตนาติ เมรุ. มิ หึสายํ, รุ. มินาติ รํสีหิ อนฺธการนฺติ วา เมรุ. ภูเขาเมรุ ภูเขาสุเมรุ เป็นภูเขาลูกเดียวกัน.
กรมรานีต : (ปุ.) คนผู้อัน...นำมาแล้วด้วยความเป็นแห่งเชลย, ทาสเชลย. วิ. กรมรภาเวน อานีโต กรมรานีโต.
ตนฺตุวาย : (ปุ.) ฟืม (เครื่องสำหรับทอผ้ามีฟัน เป็นซี่ ๆ คล้ายหวี) แมงมุม (สัตว์ไม่มีกระ ดูกสันหลังมร ๘ ขา ที่ก้นมีใยสำหรับชัก ขึงเป็นข่ายดักสัตว์)
ม : (ปุ.) สภาพผู้ยังสัตว์ให้ตาย, สภาพผู้ฆ่า, ความมืด, สภาพอันยังกิเลสให้ตาย, อบาย. มรฺ ธาตุ ร ปัจ.
มค : (ปุ.) เนื้อ, กวาง, จามจุรี. วิ. มคยติ อิโต จิโต โคจรํ ปริเยสตีติ มโค. มคฺ อเนฺวสเน, อ. มคฺคียติ ชีวิกํ กปฺปนตฺถาย มํสาทีหิ อตฺถิเกหิ ลุทฺเทหิ อเนฺวสตีติ วา มโค. มรฺ ปาณจาเค วา, อ, รสฺส โค.
มจฺจ : (ปุ.) สัตว์มีอันจะพึงตายเป็นสภาพ, สัตว์มีความที่แห่งตนจะพึงตายเป็นสภาพ, ชาย, บุคคล, คน, สัตว์. วิ. ปริตพฺพสภาว-ตาย มจฺโจ. มรติ วา มจฺ-โจ. มรฺ ปาณจาเค, โจ. ลบ รฺ ซ้อน จฺ หรือ ลง ตฺย ปัจ. แปลงเป็น จ ลบ รฺ ซ้อน จฺ หรือ แปลง ตฺย เป็น จฺจ.
มจฺฉา : (ปุ.) ปลา วิ. มสติ ชลนฺติ มจฺโฉ (สัตว์ผู้ลูบคลำ คือว่ายในน้ำ). มสฺ อามสเน, โฉ. แปลง สฺ เป็น จฺ หรือตั้ง มรฺ ปาณ-จาเค, โฉ แปลง ฉ เป็น จฺฉ ลบ รฺ.
มมฺม : (วิ.) เป็นเหตุตาย, เป็นเครื่องตาย. วิ. มรนฺตฺยเนนาติ มมิมํ. มรฺ ธาตุ ม ปัจ. แปลง รฺ เป็น มฺ หรือ รมฺม ปัจ. ลบ รฺ และ ร.
มรณ : (นปุ.) การตาย, ความตาย. มรฺ ธาตุ อ, ยุ ปัจ. มรณะที่ใช้ในภาษาไทยใช้เป็นกิริยาว่า ตาย ศัพท์มคธที่เป็นนามเมื่อนำมาใช้ในภาษาไทยแล้วใช้เป็นกิริยามีมากมาย.
มริจ มริจฺจ : (นปุ.) พริก, พริกไทย, กระวาน. มรฺ ปาณจาเค, โจ, อิ อาคโม. ศัพท์หลังซ้อน จฺ.
มรีจิ : (ปุ. อิต.) รัศมี, แสง, แสงสว่าง, แสงแดด. วิ. มัยฺยนฺเต ขุทฺทชนฺตโว อเนเนติมรีจิ. มาเรติ อนุธการํ วินาเสตีติ วา มรีจิ. มรฺ ปาณจาเค, อีจิ.
มาร : (ปุ.) สภาพผู้ฆ่า, สภาพผู้ทำลาย (ความดี), มาร, มารคือกามเทพ. วิ. สตฺตานํ กุสลํ มาเรตีติ มาโร (ยังความดีของสัตว์ให้ตาย). กุสลธมฺเม มาเรตีติ วา มาโร (ยังกุศลธรรมให้ตาย). มรฺ ปาณจาเค, โณ. ทางศาสนาจัด กิเลสกาม เป็นมารวัตถุกาม เป็นบ่วงแห่งมาร.
มิค : (ปุ.) เนื้อ ชื่อของสัตว์ป่า มีกวาง อีเก้ง เป็นต้น ปศุ สัตว์เลี้ยง สัตว์ของเลี้ยง จามจุรี จามรี สองคำนี้เป็นชื่อของเนื้อทราย มีขนละเอียดหางยาวเป็นพู่เป็นสัตว์บดเอื้องอยู่ในจำพวกโค. วิ. มียติ มํสํ ขาทิตุกามิเคหิ จาติ มิโค. มิ หึสายํ, โค. อิโต จิโต จ โคจรํ มเคตีติ วา มิโค. มคฺ อเนฺวสเน, อ. แปลง อ ที่ ม เป็น อิ. มคฺคียติ มํสาทิอตฺถิเกหิ ลุทฺเทหีติ วา มิโค. มคฺคฺ คเวสเน, อ. ลบ ค. สังโยค. หรือตั้ง มรฺ ปาณจาเค, อ, รสฺส โค, อิตฺตญฺจ.
มิคมท : (ปุ.) ชะมด วิ. มิคสฺส มโท นิคฆโท (สัตว์ผู้เมาแห่งเนื้อ). มิโค มรติ อเนนาติ มิคมโท, มิค+มรฺ+อ ปัจ. แปลง ร เป็น ท.
มีน : (ปุ.) ปลา (ปลาทั่วไป). มรฺ ปาณจาเค, อีโน, รฺโลโป. มิ หึสายํ วา.
อโยนิ : (วิ.) ไม่รู้, ไม่แยบคาย, ไม่ถูกทาง, ไม่ถ่องแท้.
อลมฺพุสา : (อิต.) นางอัปสร, นางฟ้า.วิ.กามร-ติวเสนเทวปุตฺเตอตฺตนิวสาเปตุอลํสมตฺถาติอลมฺพุสา.
อวิชาน : ก. วิ. ไม่รู้, ไม่เข้าใจ
อวิญฺญาต : ค. ไม่รู้
โอสธิ : (อิต.) ไม้ตายเมื่อมีผลแก่ (เช่นต้น กล้วยเป็นต้น). โย ผลปากาวสาเน มรติ, โส กทลีธญฺญาทิ โก โอสธิ นาม. ฎีกาอภิฯ ตาม วิ. นี้เป็น ปุ. อภิฯ วิ. โอโส ธียเต ยสฺสํ สา โอสธิ. ไม้ล้มลุก ก็ แปล.