Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: โยค , then ยค, โยค, โยคะ, โยคา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : โยค, 45 found, display 1-45
  1. โยค : (วิ.) มั่นคง, แข็งแรง, ควร, สมควร, ชอบ, ถูก. ถูกต้อง. ยุชฺ สมาธิมฺหิ, โณ, ชสฺส โค.
  2. โยคกฺเขม : (วิ.) อันเป็นแดนเกษมจากโยคะ, อันเป็นแดนปลอดโปร่งจากโยคะ.
  3. โยคยุตฺต : ค. ซึ่งประกอบด้วยกิเลส, ถูกกิเลสผูกพัน
  4. นิโยค : (ปุ.) การประกอบเข้า, การพยายาม, การยึดถือ, การแต่งตั้ง, ความประกอบเข้า, ฯลฯ, คำสั่ง, แบบแผน. นิปุพฺโพ, ยุชฺโยเค, โณ, ชสฺส โค. ส. โยค.
  5. อตฺตกิลมถานุโยค : (ปุ.) การประกอบความเพียรด้วยการยังตนให้ลำบาก, การประกอบความเหน็ดเหนื่อยแก่ตน, การทรมาณตนให้ลำบากเปล่า, การประกอบความเพียรด้วยการยังตนให้ลำบากเปล่า, อัตกิลมถานุโยคชื่อทางสายหนึ่งในสามสายเป็นสายซ้าย.
  6. กามโยค : ป. กามโยคะ, การประกอบในกาม
  7. ชาคริยานุโยค : (ปุ.) การประกอบความเพียร, การประกอบความเพียรเพื่อชำระใจให้ หมดจด.
  8. ทิฏฺฐิวิสโยค : ป. ความพรากจากทิฐิ, ความไม่ข้องเกี่ยวกับความเห็นผิด
  9. ทิพฺพโยค : ป. เครื่องประกอบอันเป็นทิพย์, เครื่องผูกอันเป็นทิพย์
  10. นกฺขตฺตโยค : ป. การประกอบดาวฤกษ์, การผูกดวงชะตา
  11. ปริโยค : ป. ชามแกง
  12. พฺยญฺชสโยค : (ปุ.) การซ้อนกันของพยัญชนะ, พยัญชนสังโยค คือพยัญชนะที่ใช้ซ้อนกันได้ตามกฎเกณฑ์ หรือพยัญชนะที่เป็นตัวสกดตามอักขรวิธี.
  13. ภวโยค : (ปุ.) เครื่องมัดสัตว์คือความพอใจในความมีความเป็น, เครื่องมัดสัตว์ คือความประกอบอยู่ในภพ.
  14. ภาวนานุโยค : ป. การตามประกอบภาวนา
  15. ยาจโยค : (วิ.) ผู้ควรแก่อันขอ, ฯลฯ.
  16. วิสโยค : ป. การแยกจากกัน
  17. สมาโยค : ป. การประกอบ, การบำเพ็ญ
  18. สโยค : ป. การประกอบ, การสะกดตัวหนังสือ
  19. อคฺคิสโยค : (ปุ.) การเป่าไฟ, การก่อไฟ.
  20. อจฺจนฺตสโยค : (ปุ.) การประกอบต่อเนื่องกันวิ. อจฺจนตํ นิรนฺตรํ สํโยโค อจฺจนฺตสํโยโค.
  21. อฑฺฒโยค : (ปุ.) เรือนมุงด้านเดียว, เรือนดุจปีกครุฑ, เพิง (หลังคาด้านเดียวที่มุงลาดไป)วิ.เอกปสฺเสเยวฉทนโตอฑฺเฒนโยโคอฑฺฒโยโค.
  22. อภิโยค : (วิ.) แต่งขึ้น, ปรุงขึ้น.อภิปุพฺโพ, ยุชฺโยเค, โณ.
  23. โยค : ค. ไม่ประกอบความเพียร, ไม่มีความพยายาม, ไม่ตามประกอบ
  24. โยคปตฺต : (นปุ.) พัด.
  25. อาจโยค : (วิ.) ผู้ควรอันยาจกพึงขอ.
  26. อาโยค : (ปุ.) ความเพียรเป็นเครื่องประกอบยิ่ง, ความเพียร, การรัดเข่า, ผ้ารัดเข่า.อาปุพฺโพ, ยุชฺโยเค, โณ.
  27. อุยฺโยค : ป. การประกอบ, การกระทำ; การออกไป, ความเสื่อม, ความวอดวาย
  28. โยค : (อิต.) วิชาช่าง.
  29. กกฺการุ : (ปุ.) ฟัก, แฟง, แตง, น้ำเต้า. ถ้าประ โยคมี ติ สังขยาอยู่ แปลรวมเป็น ฟักแฟง แตง น้ำเต้า. นับ ฟัก แฟง รวมเป็น ๑. อรุ ปัจ.
  30. กปาล : (ปุ. นปุ.) กะโหลก กะโหลกศีรษะ. วิ. กํ สีสํ ปาเลตีติ กปาลํ. กปุพฺโพ, ปาลฺรกฺขเณ, โณ. กปฺปนฺติ ชีวิตํ เอเตนาติ วากปาลํ. กปฺปฺ สิทฺธิยํ, อโล. ลบ ปฺ สงโยค. กระเบื้องหม้อ ก็แปล. ส.ก ปาล.
  31. กีจก : (ปุ.) ไม้ไผ่อันลมถูกต้องแล้วย่อมบันลือ เสียง, ไม้ไผ่เหล่าใดโยคไหวด้วยลมย่อม บันลือเสียง เพราะมีรูอันสัตว์มีหนอน เป็นต้นทำแล้ว ไม้ไผ่เหล่านั้น ชื่อ กีจกะ วิ. อนิเลน ปกมฺปิตา เย เวณู กีฏาทีหิ กตรนฺธตาย นทนฺติ เต กีจกา. จกิ อามสเน, ณฺวุ, พฺยญฺชนานํ วิปริยาโย (เปลี่ยนพยัญชนะคือเอา ก ไว้หน้า จ). เป็น กิจก บ้าง. ส. กีจก ไม้ไผ่สีกันดัง ออดแอด.
  32. กึ : (นปุ.) อะไร, ประโยชน์อะไร. เวลาแป คุดคำว่าประโยชน์เข้ามา เช่น กึ อ. ประโยชน์อะไร หรือโยค ปโยชนํ เป็น กึ ปโยชน์ อ. ประโยชน์อะไร. เอสา เต อิตฺถี กึ โหติ. สตรีนี้เป็นอะไรของท่าน?. เอเต มนุสฺสา ตุมฺหากํ กึ โหนฺติ. คนเหล่านี้ เป็นอะไรของท่าน. กึ ศัพท์ในที่นี้เป็น วิกติกกัตตา.
  33. ตุวฏ : (วิ.) รีบ, เร็ว, รวดเร็ว, พลัน, ด่วน. วิ. ตุริตภาวเน วฏฺฏตีติ ตุวฏํ. ตุริตปุพฺโพ. วฏฺฏฺอาวตฺตเน, อ, ริตโลโป, สํโยคโลโป จ. อภิฯ ตั้ง ตุวฏฺฏ ธาตุ ในความนอน ด้วย?เป็น ตุวฏฏ โดยไม่ลบ สังโยคบ้าง.
  34. นารี : (อิต.) หญิง, คนผู้หญิง, ผู้หญิง, นาง. วิ. นเรน โยคโต นรสฺสายํ นารี. อิทมตฺเถ โณ, อี. ส. นารี.
  35. ปมฺปก : (ปุ.) ลิงลม, นางอาย, กิ้งก่า. ปปฺปฺ คติยํ. ณฺวุ, ปฺสํโยคโลโป, พินฺทฺวาคโม.
  36. โยค : (ปุ.) การประกอบ, ฯลฯ, การประกอบเข้า, ความพยายามเป็นเครื่องประกอบ, ความพยายาม, ฯลฯ, ประโยคเป็นชื่อของคำพูดที่ได้ความบริบูรณ์ตอนหนึ่งๆ อย่าง ๑ เป็นชื่อของความรู้เช่นเปรียญธรรม ๓ ประโยค อย่าง ๑ เป็นชื่อของการทำทางกายทางวาจา เรียกว่า กายประโยค วจีประโยค อย่าง ๑ วิ. ปยุชฺชนํ ปโยโค. ป+ยุชฺ+ณ ปัจ. แปลง ช เป็น ค. ส. ปฺรโยค.
  37. มญฺชรี : (อิต.) ช่อดอกไม้, ก้านดอกไม้. วิ. มญฺชุโยคโต มญฺชรี. ร ปัจ. แปลง อุ เป็น อ อี อิต.
  38. สิขี : (ปุ.) ไฟ วิ. สิขา วุจจฺติ ชาลา, ตาย โยคโต สิขี. ณี ปัจ.
  39. องฺคุฏฺ : (ปุ.) นิ้ว, นิ้วหัวแม่มือ, นิ้วแม่มือ. หัวแม่มือ. วิ. อคฺเค ปุเร ติฏฐตีติ องฺคุฏโฐ. อคฺคปุพฺโพ, ฐา คตินิวุตฺติยํ, อ, อสฺสุตฺตํ, นิคฺคหิตาคโม, วิสํโยคตฺตญฺจ. (แปลง อ ที่ ค เป็น อุ ลงนิคคหิตอาคม ลบ คฺ สังโยค เอานิคคหิตเป็น งฺ). องฺคฺ คมเน วา, โฐ, อสฺสุตฺตํ, ฏฺสํโยโค. ลง ก สกัดเป็น องฺ คุฏฐก บ้าง. ส. องฺคุษฺฐ.
  40. องฺคุฏฺฐ : (ปุ.) นิ้ว, นิ้วหัวแม่มือ, นิ้วแม่มือ.หัวแม่มือ. วิ. อคฺเค ปุเร ติฏฐตีติ องฺคุฏโฐ.อคฺคปุพฺโพ, ฐาคตินิวุตฺติยํ, อ, อสฺสุตฺตํ, นิคฺคหิตาคโม, วิสํโยคตฺตญฺจ. (แปลง อ ที่ค เป็น อุ ลงนิคคหิตอาคม ลบคฺสังโยคเอานิคคหิตเป็นงฺ).องฺคฺคมเนวา, โฐ, อสฺสุตฺตํ, ฏฺสํโยโค.ลงกสกัดเป็นองฺคุฏฐก บ้าง. ส. องฺคุษฺฐ.
  41. อสฺสยุช : (ปุ.) อัสสยุชะชื่อดาวฤกษ์กลุ่มที่๑ ใน๒๗ กลุ่มมี๗ ดวงอภิฯ ว่ามี ๓ ดวง, ดาวม้า. อสฺส รูปโยคโต อสฺสยุโช. ส.อศฺวยุชอสฺวินี.
  42. อุทีจิ : (อิต.) ทิศเหนือ, ทิศอุดร. วิ. อุทฺธํ อํจติ ยสฺสํ สา อุทีจิ. ยสฺสํ วา รวิ สีตวิโยคตํ ทตฺวา วญฺจติ สา อุทีจิ. อุทฺธํปุพฺโพ, อํจฺ คมเน, อิ. ส. อุทีจิ.
  43. ยุค : (ปุ.) คราว, สมัย, กัปป์ (ยุค), ยุค, แอก, คู่. กำหนดเวลาของโลกมี ๔ ยุค คือ กฤดายุค ไตรดายุค ทวาปรยุค และกลียุค. ยุคที่อยู่กันนี้เป็นกลียุค เป็นยุคเสื่อมกว่ายุคก่อนๆ.
  44. โยค : (วิ.) ผู้มั่นคง, ฯลฯ, ผู้เพ่ง, ผู้ขยัน, ฯลฯ.
  45. โยตกฺเขมี : (วิ.) ผู้มีธรรมเป็นแดนเกษมจากโยคะ. อี ปัจ. ตทัสสัตถิตัท.
  46. [1-45]

(0.0622 sec)