Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: โลม , then ลม, โลม, โลมะ, โลมา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : โลม, 159 found, display 1-50
  1. โลม : นป. ขน
  2. โลมหส : ป., โลมหํสน นป. ขนชูชัน
  3. โลมกูป : ป. ขุมขน, รูขน
  4. โลมสปาณก : ป. ตัวบุ้ง
  5. ปุโลม : (ปุ.) ปุโลมะ ชื่อของไวปจิตตาสูร ชื่อ ๑ ใน ๒ ชื่อ, ไวปจิตตาสูร.
  6. กปฺปิยานุโลม : นป. ความที่เข้ากันได้กับกฎ, การอนุโลมตามกฎ
  7. ทีฆโลม : (ปุ.) อาสนะพิเศษประกอบด้วย ขนยาว, ผ้าโกเชาว์ใหญ่ขนยาว.
  8. ทีฆโลม, - มก : ค. มีขนยาว
  9. นาสิกาโลม : (นปุ.) ขนเกิดในจมูก, ขนจมูก.
  10. ปฏิโลมปกฺข : ป. ฝ่ายที่ตรงกันข้าม, ฝ่ายค้าน, ส่วนตรงข้าม
  11. ปนฺนโลม : ค. ผู้มีขนตก, ผู้มีขนราบ, ผู้ไม่มีความหวาดสะดุ้ง, ผู้สงบระงับ
  12. ปลฺโลม : ป., นป. ความปลอดภัย, ความมั่นคง
  13. ปุถุโลม : ป., นป. ปลาธรรมดา, ปลาสามัญ
  14. ภมุกโลม : (ปุ. นปุ.) ขนของคิ้ว, ขนคิ้ว.
  15. อติโลม : ค. มีขนมากยิ่ง
  16. โลม : ค.ไม่มีขน
  17. อสฺสาทิโลม : (ปุ. นปุ.) ขนที่ปากเป็นต้น.
  18. อสิโลม : ค. มีขนเป็นดาบ, มีขนคมเหมือนดาบ
  19. เอลกโลม เอฬกโลม : (นปุ.) ขนเจียม (ขนแกะขนแพะ).
  20. โคลีมี : (อิต.) ว่านน้ำ วิ. คุณฺณํ โลมสมฺปาต- นฏฐาเน ชาตา โคโลมี. หญ้า แพรกขาว วิ. โคโลมชตฺตา โคโลมี, แฝกขาว, เปราะ ก็แปล.
  21. อนุโลม : (วิ.) เป็นไปตามซึ่งขน, ตามขนคือตามลำดับได้แก่การพิจารณาจับเหตุไปหาผล หรือจับต้นไปหาปลาย, เป็นไปตาม, คล้อยตาม, เป็นพวก, ไม่ขัดขืน, ตามลำดับ, สะดวก, เหมาะ.ส. อนุโลมอนุโลมนฺ.
  22. อุณฺณามย : (ปุ.) เครื่องลาดเป็นวิการแห่ง ขนสัตว์, เครื่องลาดทำด้วยขนสัตว์, เครื่อง ลาดแล้วด้วยขนสัตว์. อุณฺณาโลม
  23. ก. : ๑. ป. พระพรหม ; ลม; ไฟ ; ใจ; ๒. นป. หัว, ผม; น้ำ; ๓. ส. ใคร? อะไร? สิ่งไหน?
  24. กายธาตุ : อิต. กายธาตุ, หมวดกาย, ธาตุที่เป็นส่วนประกอบของร่างกายคือ ดิน, น้ำ, ลม, ไฟ
  25. ตจปญฺจก : นป. (กรรมฐาน) มีหนังเป็นที่ห้าคือ เกสา, โลมา, นขา, ทนฺตา, ตโจ
  26. อตฺตกิลมถานุโยค : (ปุ.) การประกอบความเพียรด้วยการยังตนให้ลำบาก, การประกอบความเหน็ดเหนื่อยแก่ตน, การทรมาณตนให้ลำบากเปล่า, การประกอบความเพียรด้วยการยังตนให้ลำบากเปล่า, อัตกิลมถานุโยคชื่อทางสายหนึ่งในสามสายเป็นสายซ้าย.
  27. กิลมติ : ก. เหน็ดเหนื่อย, เมื่อยล้า, ลำบาก
  28. ขุลฺลม : ป. ถนน, ทางเดินเท้า
  29. ปริกิลมติ : ก. ลำบาก, เหน็ดเหนื่อย
  30. อลมริย : ค. อย่างประเสริฐ, อย่างแท้จริง
  31. อลฺลมสสรีร : ป. สรีระที่มีเนื้อหนังสด
  32. : (ปุ.) พรหม อุ. กโมฬิ, กาย อุ. กํ อตฺตานํ, ลม อุ. กํ วาตํ, ชาย (คน) อุ. กํ ปุริสํ, นกยูง อุ. โก มยูโร, ความรุ่งเรือง อุ. โก โชติ.
  33. กมฺปาก : ป. ลม
  34. คนฺธวาห : (ปุ.) ลม (นำกลิ่นไป).
  35. ฉุป : (ปุ.?) การถูก, การต้อง, การถูกต้อง, การรบกัน, สงคราม, เถาวัลย์, ลม. ฉุปฺ สมฺผลฺเส, อ. ส. ฉุป.
  36. ตจปญฺจกกมฺมฏฺฐาน : (นปุ.) กัมมัฎฐานมี ประชุมแห่งอาการห้ามีหนังเป็นที่สุดเป็น อารมณ์ มี วิ. ดังนี้ :- ๑ กณฺ ปัจ. สมุหตัท. ปญฺจนฺนํ อาการานํ สมุโห ปญฺจกํ ฉ.ตุล. ตโจ ปริยนฺโต ยสฺส ตํ ตจ ปริยนฺตํ วิเสสนบุพ.กัม ตจปริยนฺตญฺจ ตํ ปญฺจ- กญฺจาติ ตจปญฺจกํ. ฉ. ตุล ตจปญฺจกํ อารมฺมณํ ยสฺส ตํ ตจฺปญฺจการมฺมณํ. วิเสสนบุพ.กัม. ตจปญฺจการมฺมณญฺจ ตํ กมฺมฏฺฐานญฺจาติ ตจปญฺจกกมฺมฏฐานํ. นอกจากนี้ยังมีสำนวน แปลอย่างอื่นอีก คือกัมมัฏฐานมีหมวด แห่งส่วนห้าแห่งอาการมีหนังเป็นที่สุด เป็นอารมณ์กัมมัฏฐานอันบัณฑิตกำหนด ด้วยอาการมีหนังเป็นที่ห้าด้วยอารมณ์, พึง ตั้ง วิ. ตามสำนวนแปล. กัมมัฏฐานนี้เป็น กัมมัฏฐานแรก ซึ่งพระอุปัชฌาย์สอนนาค ก่อนที่จะบรรพชาอุปสมบท สำหรับใช้ ภาวนาจึงเรียกว่า มูลกัมมัฏฐาน เป็น สมถกัมมัฏฐานก็ได้เป็นวิปัสสนากัมมัฏ- ฐานก็ได้ แล้วแต่การภาวนาว่า เกสา โลมา นขา ทันตา ตโจ ตโจ ทันตา ทขา โลมา เกสา ไม่ได้พิจารณาว่า ผม ฯลฯ ไม่งาม ฯลฯ ก็เป็นสมถกัมมัฏฐาน ถ้าพิ – จารณาผม ฯลฯ แยกให้เห็นเป็น สามัญ – ลักษณะ ก็เป็นวิปัสสนากัมมัฏฐาน.
  37. นิล : (นปุ.) ลม. นิปุพฺโพ, วา คติยํ, อ. วสฺส โล.
  38. ผณิปิย : ป. ลม
  39. มหาภูต : (ปุ. นปุ.) มหาภูต คือธาตุทั้ง ๔ ได้แก่ ดิน น้ำ ไฟ และ ลม.
  40. มารุต : ป. ลม
  41. มารุต มาลุต : (ปุ.) ลม วิ. อาหาโร วิย ปายา สภูโตปิ กทาจิ สตฺเต มาเรตีติ มารุโต มาลุโต วา. ศัพท์หลัง แปลง ร เป็น ล.
  42. มาลุต : ป. ลม
  43. มูลกมฺมฏฺฐาน : (นปุ.) กัมมัฏฐานเดิม, กัมมัฏฐานอันเป็นเดิม, ได้แก่ เกสา โลมา นขา ทนฺตา ตโจ ซึ่งพระอุปัชฌาย์ให้เมื่อขอบรรพชาอุปสมบท.
  44. วาต : ป. ลม
  45. วาย : ป., นป. ลม
  46. วายุ : นป. ลม
  47. สมีร สมีรณ : (ปุ.) ลม วิ. สมนฺตโต อีรติ กมฺปติ ขิปติ รุกฺขาทโยติ สมีโร. สนฺตํ นิจฺจลํ อีรยติ กมฺเปตีติ สมีรโร. อีรฺ กมฺปเน, อ, ยุ. ส. สมีร. สมีรณ.
  48. อารมฺมณูปนิชฺฌาน : (นปุ.) การเข้าไปเพ่งดิน น้ำไฟ ลม เป็นต้นเป็นอารมณ์, การเพ่งดิน น้ำไฟ ลมเป็นต้นเป็นอารมณ์, การที่จิตเข้าไปเพ่งอารมณ์ของกัมมัฏฐานอยู่อย่างแนบแน่น.
  49. อุทฺธคม อุทฺธงฺคม : (ปุ.) ลมไปในเบื้องบน, ลมพัดขึ้นเบื้องบน, อุทธังคมวาต ชื่อ ลม ในกายอย่าง ๑ ใน ๖ อย่าง. อุทฺธํปุพฺโพ, คมฺ คติยํ, อ.
  50. อนิล : (ปุ.) สภาพเป็นเครื่องเป็นอยู่ของสิ่งมีชีวิตอากาศ, ลม.วิ.อนติ อเนนาติ อนิโล.อนฺปาณเน, อิโล.ส.อนิล.
  51. [1-50] | 51-100 | 101-150 | 151-159

(0.0657 sec)