โลหิต : ๑. นป. โลหิต, เลือด;
๒. ค. แดง
ฉพฺพณฺณรสิ : (อิต.) รัศมีมีสีหก. ฉัพพัณณรังษี. รัศมี ๖ ประการนี้ คือ เขียวเหมือนดอก – อัญชัน เรียกนีละ ๑ เหลืองเหมือน หอ – ระดาล เรียก ปีตะ ๑ แดงเหมือน ตะวัน อ่อน เรียก โลหิตะ ๑ ขาวเหมือนแผ่นเงิน เรียก โอทาตะ ๑ สีหงสบาทเหมือนดอก เซ่งหรือดอกหงอนไก่ เรียกมัญเชฏฐะ ๑ เลื่อมพรายเหมือนแก้วผนึก เรียก ปภัสสร รัศมีทั้ง ๖ นี้ แผ่เป็นวงกลมอยู่ เบื้องหลังพระเศียรของพระพุทธเจ้า. พระ พระอรหันต์ทั้งหลาย แม้พระอัครสาวก ก็ ไม่มีรัศมีทั้ง ๖ นี้.
โลหิตกฺข : ค. มีตาแดง
โลหิตงฺก : ป. แก้วทับทิม
โลหิตจนฺทน : นป. จันทน์แดง
โลหิตภกฺข : ค. ซึ่งกินเลือด, สัตว์ที่เลี้ยงด้วยเลือด
ญาติสาโลหิต : (ปุ.) พี่น้องผู้เกี่ยวเนื่องกันด้วย เลือด, พี่น้องผู้เกี่ยวเนื่องกันด้วยสายเลือด, พี่น้องผู้ร่วมสายเลือด, ญาติสาโลหิต, ญาติสายโลหิต ( ญาติที่ลืมสกุลมาโดยตรง ญาติสายโลหิตเดียวกัน ). คำ ญาติ ทาง ศาสนาหมายถึงคนที่ไม่ใช่สายเลือดเดียว กัน ก็ได้ ดังบาลีว่า วิสฺสาสาปรมา ญาติ ความคุ้นเคยชื่อว่าเป็นญาติอย่างยิ่ง. (ญาติ สนิท).
ธุวโลหิตา : อิต. หญิงมีโลหิตประจำ, หญิงมีประจำเดือน, หญิงมีระดู
ปุราณสาโลหิต : ค. ซึ่งสืบสายโลหิตกันมาก่อน
รุธิร : นป. เลือด, โลหิต
รุหิร : นป. เลือด, โลหิต
สาโลหิต : (ปุ.) คนผู้ร่วมสายเลือด, คนผู้ร่วมสายเลือดเดียวกัน, คนผู้นับเนืองในวงศ์ญาติ, ญาติสืบสาย, สาโลหิต, สายโลหิต. วิ. โลหิเตน สมฺพนฺโธ สาโลหิตโต. สมฺพนฺธสฺส สาเทโส, ปุพฺพนิปาโต จ. แปลง สมฺพนฺธ เป็น สา และตกไป (ยกไปไว้) ข้างหน้า.
ลิหติ : ก. เลีย
เสตโลหิต : (ปุ.) แดงจาง, ชมพู, สีแดงจาง, สีชมพู.
อุปโลหิตก : ค. แดงเรื่อ
ชมฺมน : นป. ความเกิด, การสืบสายโลหิต
ปญฺจานนฺตริย : นป. อนันตริยกรรมห้า, กรรมหนักห้าประการ (ฆ่ามารดา, ฆ่าบิดา, ฆ่าพระอรหันต์, ทำพระโลหิตของพระพุทธเจ้าให้ห้อ, ทำลายสงฆ์ให้แตกกัน)
เมหน : (นปุ.) อวัยวะอันมีในที่ลับ, อวัยวะสำหรับหลั่งมูตร, อวัยวะสำหรับหลั่งโลหิต, นิมิตรของบุรุษ, นิมิตรของสตรี, ของลับของบุรุษ, ของลับของสตรี. วิ. มิหติ เรตมุตฺตานิ อเนนาติ เมหนํ. มิหฺ เสจเน, ยุ.
โสณิต : (นปุ.) โลหิต, เลือด. โสณฺ วณฺเณ, โต, อิอาคโม. ส. โศณิต.
อติสาร : (ปุ.) โรคอันยังโลหิตให้แล่นไปยิ่ง, โรคลงแดง.ส.อติสาร