โลเกส : ป. พรหม
โลจก : ค. ผู้ลาก, ผู้ดึง, ผู้ถอน
โลหกุมฺภี : อิต. หม้อทองแดง; ชลาลัยคือ บ่อแห่งห้วงน้ำในนรก
โลหมาสก : ป. เหรียญทองแดง
เปฬา : (อิต.) กระโปรง, ลุ้ง (ภาชนะใส่ของอย่างหนึ่งรูปคล้ายถังเตี้ยๆ มีฝาปิด), หีบ, ช้อง (เครื่องจักสาน รูปคล้ายหม้อดิน ก้นสี่เหลี่ยมจตุรัสสำหรับใส่ปลา),ตะกร้า, เขียง (ไม้สำหรับการสับการหั่น). เปฬฺ คติยํ, อ. เป ปาลเน วา, โล, ฬตฺตํ. ปาฬฺ รกฺขเณ วา, อ, อาสุเส. ปี ตปฺปเน วา, โฬ, อีสฺเส.
โจล โจฬ : (นปุ.) ผ้า, แผ่นผ้า, ท่อนผ้า, จิลฺ วสเน, โณ, อิสฺโส. ศัพท์หลัง แปลง ล เป็น ฬ. อถวา, จุ จวเน, โล, โฬ. ส. ไจล, โจล.
ขุลฺล ขุลฺลก : (วิ.) เล็ก, น้อย, เลว, ต่ำ. ขุรฺ เฉทเน, โล, รสฺส ลตฺตํ. ศัพท์หลัง ก สกัด.
นิขิล : (วิ.) ทั้งหมด, ทั้งมวล, ทั้งปวง, ทั้งสิ้น, สมบูรณ์. วิ. น ขียตีติ นิขิลํ นิปุพโพ, ขี ขเย, โล, รสฺโส. ส. นิขิล.
ปโทล : (ปุ.) กระดอม, ขี้กา, เทพชาลี. วิ. ปํ สีสโรคาทิกํ วา ทวติ ทุโนติ วา หึสติ วินาเสตีติ ปโทโล. ปปุพฺโพ, ทุ หึสายํ, โล, อโล วา.
มลฺล มลฺลก : (ปุ.) คนปล้ำ, มวลปล้ำ, นักมวย. มถฺ วิโลฬเน, โล, ถสฺส ลาเทโส (แปลง ตฺ เป็น ลฺ). ศัพท์หลัง ก สกัด. รูปฯ ๖๔๒.
มาลา : (อิต.) ระเบียบ, แถว, แนว, ถ่องแถว, โครง, แผน, หมวด, สาขา, สร้อยคอ, สาย, ดอกไม้, พวง, พวงดอกไม้. วิ. มียติ ปริมียตีติ มาลา. มา มาเน, โล, อิตฺถิยํ อา. มลฺ ธารเณ วา, อ. มา ภมรา ลสนฺติ เอตฺถ ปิวเนนาติ วา มาลา, มาปุพฺโพ, ลสฺ กนฺติยํ, กฺวฺ ลบที่สุดธาตุ.
โสวิทลฺล : (ปุ.) คนใช้สำหรับฝ่ายใน, คนแก่. วิ. โสกํ วินฺทตีติ โสวิทลฺโล. โสกปุพฺโพ, วิทฺ ลาเภ, โล, กโลโป.
อขิล : (วิ.) ทั้งปวง, ทั้งมวล, ทั้งหมด, ทั้งสิ้น, วิ. น ขียตีติ อขิลํ.นปุพฺโพ, ขี ขเย, โล, รสฺโส. ฎีกาอภิฯ เป็น ขิ ขเย. ส. อขิล.
นิลฺโลเกติ : ก. เฝ้ามอง, ระมัดระวัง
ปฏิโยโลเกติ : ก. มอง, จ้อง, สังเกต
ปวิโลเกติ : ก. เหลียวดู, จ้องดู, มองไปข้างหน้า
ปารโลลิก : ค. เกี่ยวกับโลกอื่นหรือโลกหน้า
วิโลเกติ : ก. ตรวจดู, ไต่สวน
วิโลปก : ค. ผู้ปล้น
โวโลเกติ : ก. สอบดู, มองดู
อนุวิโลเกติ : ก. ค้นหา, สำรวจ, ตรวจดู
อาโลเกติ : ก. แลไปข้างหน้า, จ้องดู, เพ่งดู
อาโลปาโลป : (ปุ.) คำและคำ (ทุก ๆ คำ).
อินฺทุโลหก : นป. เงิน
โอโลเกติ : ก. มองดู, ตรวจดู
กลฺย กลฺล : (นปุ.) อันนับ, การนับ. วิ. กลฺยเตติ กลฺยํ กลฺลํ วา. กลฺ สํขฺยา เณ, โย, โล วา. รูปฯ ๖๔๐.
สลฺย สลฺล : (นปุ.) แผล, ขวาก, หนาม, ลูกศร, ลูกปืน. วิ. สตฺตานํ สรีเร สลติ ปวีสตีติ สลฺยํ สลฺลํ วา. สลฺ คติยํ, โย, โล วา. สตฺตานํ ชีวิตํ สลยนฺติ กมฺเปนฺติ วิทฺธํเสนฺตีติ วา สลฺยํ สลฺลํ วา. สลฺ จลเน.
หุลฺย หุลฺล : (นปุ.) หนาม, หอก, ลูกศร. หุลฺ คติยํ, โย, โล วา. รูปฯ ๖๔๐.
อกลฺล : (นปุ.) ความเจ็บไข้, ความไม่สบาย, โรค. วิ. น กลติ เยน ตํ อกลํ.ตเมวอกลฺลํ. กล. คติสํขฺยาเนสุ, โล สกตฺเถ, ณฺย วา.น บทหน้า กลฺ ธาตุ อ ปัจ.ลสกัด หรือ ณฺย ปัจ. แปลง ลฺย เป็นลฺล.
ฉลฺลิ : (นปุ.) หนัง, เปลือก, เปลือกไม้, สะเก็ด. ฉทฺ สํวรณอปวารเณสุ, ลิ, ทสฺส โล. ส. ฉลฺลิ. ฉลฺลี. ฉลฺลี (ปุ.?) ลูกหลาน, เครือเถา, เถาวัลย์.
ชาลา : (อิต.) ความรุ่งเรือง, ความสว่าง, ไฟ, เปลวไฟ, โคมไฟ. วิ. ชลตีติ ชาลา. ชลฺ ทิตฺติยํ, โณ. ชลฺ อปวารเณ วา. ชิ อภิเวชิเต วา, โล. วิการ อิ เป็น เอ แปลง เอ เป็น อา.
ถล : (นปุ.) ถละ ชื่อของบรรพชา ชื่อของพระ นิพพานเพราะห้วงน้ำคือกิเลสไม่ท่วมทับ, บก, ดอน, ที่บก, ที่ดอน. ถลฺ ฐาเน, อ. ฐา คตินิวุตฺติยํ วา, โล. แปลง ฐ เป็น ถ.
ถุล ถุลฺล : (วิ.) เต็ม, อ้วน, พี, ใหญ่, ล่ำ, หยาบ, หนา, หนัก. ถุลฺ ปริพฺรูหเน, อ, โล.
ทุสฺสีล : (วิ.) ผู้มีศีลอันโทษประทุษร้ายแล้ว. วิ. ทุฏฺฐ สีลํ ยสฺส โล ทุสฺสีโล. ผู้มีศีลชั่ว ผู้มี ศีลเสีย ผู้ทุศีล (ไม่มีศีล). ทุ+สีล ซ้อน สฺ.
โทล : (วิ.) บีบคั้น, เบียดเบียน, ทำลาย, ทุ ปีฬเน, โล.
โทลา โทลี : (อิต.) ชิงช้า, คานหาม, เปล. วิ. ทุยตีติ โทลา โทลี วา. ทุ ปริตาเป, โล. อา, อี อิต. ส. โทล. โทลิกา.
ธวล : (ปุ.) ขาว, เผือก (สี...). ธุ โสธเน, โล. ส. ธวล.
นิล : (นปุ.) ลม. นิปุพฺโพ, วา คติยํ, อ. วสฺส โล.
ปุลฺล : (วิ.) พอง, ป่อง. ปุลฺ มหตฺเต, โล.
โปฏคล : (ปุ.) ต้นเป้ง, หญ้าเลา หญ้าดอกเลา (ต้นไม้พวกอ้อดอกสีขาวมอๆ), หญ้าปล้อง ชื่อหญ้าชนิดหนึ่งต้นเป็นข้อๆ ในข้อมีไส้เป็นปุยขาว ชอบขึ้นในน้ำ, ต้นอ้อ, ไม้อ้อ, ต้นเป้ง. วิ. ปุฏ มญฺญมญฺญสํสคฺคํ คจฺฉตีติ โปฏคโล. ปุฏปุพฺโพ, คมฺ คติยํ, อ, อุสฺโส, มสฺส โล.
ผุลฺล : (วิ.) แผ่, ขยาย, กระจาย, แผ่ไป, กระจายไป. ผุลฺ ผรเณ, โล.
มิฬฺห มีฬฺห : (นปุ.) อุจจาระ, ขี้. มิหฺ เสจเน, โล. แปลง ล เป็น ฬ แล้วแปรไว้หน้า ห หรือตั้ง มีลฺ นิมีลเน, โห. อภิฯ.
สมฺปหุล สมฺพหุล : (วิ.) เจริญ, นักหนา, หนักหนา, มาก, มากพร้อม, มากด้วยกัน, มากมาย. วิ. สํ ปโหตีติ สมฺปหุลํ สมฺพหุลํ วา. สํ ป ปุพฺโพ. หุ สตฺตายํ, โล. ศัพท์หลัง แปลง ป เป็น พ.
สิลา : (อิต.) หิน, หินก้อน, ผา(หิน หินที่เขา), สิลา, ศิลา, ไศล (สะไหล). สิลฺ อุจฺเจ, อ. สิ เสวายํ วา, โล.
หลาหล : (วิ.) กล้าและกล้า, แข็งเท่าแข็., ร้ายเท่าร้าย, ร้ายกาจ. หนฺ หึสายํ, อ, นสฺส โล. หล+หล ทีฆะในท่ามกลาง.
อลฺล : (นปุ.?)ความพัวพัน.อลฺพนฺธเน, โล.
อินฺทขีล : (ปุ.) ธรณี, ธรณีประตู. วิ. อินฺโทเอว ปทํ ขิปติ เอตฺถาติ อินฺทขีโล. อินฺทปุพฺโพ, ขิปฺ เปรเณ, อ, ปสฺส โล.
อิลฺลล : (ปุ.) นก. อิลฺ กมฺปนคตีสุ, โล. แปลง ลฺ เป็น ลฺล.
อุปล อุปฺปล : (นปุ.) บัว, ดอกบัว, บัวเผื่อน, อุบล (บัวขาบ บัวสาย). วิ. อุทกํ ปิวตีติ อุปลํ อุปฺปลํ วา. อุทกปุพฺโพ, ปา ปาเน, โล. ทกโลโป. แปลว่า หัวใจ ก็ได้. ส. อุตฺปล.
เอลา เอฬา : (อิต.) น้ำลาย, กระวาน, กระวาน ใหญ่. อิลฺ คติยํ, อ, อิสฺเส, อิตฺถิยํ อา. อิ คติยํ วา, โล. ส. ลาลา น้ำลาย.