โสก : (วิ.) แห้ง, เหี่ยว, เศร้า, โศก, ผู้โศก, สุจฺ โสเก, โก, จฺโลโป. กัจฯ ๖๖๑.
อาเมณฺฑิต : (นปุ.) อาเมณฑิตพจน์คือคำกล่าวซ้ำๆในเพราะเหตุกลัวโกรธสรรเสริญรีบด่วน แตกตื่น อัศจรรย์ ร่าเริง โศก หรือเลื่อมใสเช่นงู ๆ, พุทโธ ๆ.อาปุพฺโพทฺวตฺติกฺขตฺตุมุจฺจารเณวตฺตติ, เมฑิอุมฺมา-ทเน, โต, อิอาคโม.
จิตฺตสนฺตาป : นป. ความเร่าร้อนแห่งจิต, ความโศกเศร้าทุกข์ใจ
ฉณ : (ปุ.) การรื่นเริงเป็นที่ตัดเสียซึ่งความโศก, มหรสพ,มโหรสพ. วิ. ฉินฺทติ โสก เมตฺถาติ ฉโณ. ฉิ เฉพฺน, ยุ, อิสฺสตฺตํ. ใน วิ. ใช้ ฉิทฺ ธาตุแทน เป็น ฉณฺณ บ้าง.
ทุมฺมน : ค. ผู้มีใจชั่ว, ผู้เสียใจ, ผู้เศร้าโศก
นิสฺสิรีก : ค. ไม่มีสิริ, เคราะห์ร้าย, เศร้าโศก
นิสฺโสก : ค. ไม่มีโศก
ปฏิมุจฺจติ : ก. ประสพ, ได้รับ (ความเศร้าโศก)
ปฏิมุญฺจติ : ก. สวม, สวมใส่, ผูก, มัด; ประสพ, ได้รับ (ความเศร้าโศก)
พลวโสกาภิภูต : (วิ.) ผู้อันความโศกมีกำลังครอบงำแล้ว.
วิโสก : ค. ผู้ไม่เศร้าโศก
โสกปเรต โสกาภิภูต : (วิ.) ผู้อันความโศกครอบงำแล้ว, ผู้ถูกความโศกครอบงำ.
โสกวิโนทน : นป. การบรรเทาความโศก
โสกสลฺล : นป. ลูกศรคือความโศก
โสจติ : ก. เศร้าโศก
โสจนา : (อิต.) ความแห้ง, ฯลฯ, ความโศก. สุจฺ โสเก, อ, ยุ. ส. โศจน.
โสจ โสจน : (นปุ.) ความแห้ง, ฯลฯ, ความโศก. สุจฺ โสเก, อ, ยุ. ส. โศจน.
อฏฺฏิต : กิต. ๑. ถูกกดขี่ ;
๒. เศร้าโศก, เสียใจ
อนุโสจติ : ก. เศร้าโศกถึง, รำพันถึง
อนุโสจน : นป. ความเศร้าโศก, ความรำพึงถึง
อวมงฺคล : (นปุ.) อวมงคล (ไม่เป็นความเจริญ).เรียกงานทำบุญเกี่ยวกับการตายว่างานอว-มงคล.คือ งานที่ปรารภเหตุที่ทำให้เกิดความเศร้าโศกเสียใจ.
อโสก : (วิ.) ผู้ไม่มีความโศก, ผู้ไม่โศก.ส.อโศก
อุปโรทติ : ก. เศร้าโศก, เสียใจ, ร้องคราง
อุร : (ปุ. นปุ.) อก, ทรวง (อก), ทรวงอก (ใช้ในคำกลอน), ชีวิต. อรฺ คมเน, อ, อสฺสุกาโร (แปลง อ อักษรเป็น อุ อักษร). โมคฯ ตั้ง อุสฺ ทาเห. ร ปัจ. ลบ สฺ อธิบายว่า อันความโศกเผาอยู่. บาลีไวยา- กรณ์เป็น ปุ. ส. อุรศฺ อุรสฺ.