Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: โสภา , then โศภา, สภา, โสภ, โสภา .

ETipitaka Pali-Thai Dict : โสภา, 46 found, display 1-46
  1. โสภา : (อิต.) ความดี, ความงาม, ความเจริญ, ความรุ่งเรือง. วิ. สุนฺทรํ ภาตีติ โสภา. สุนฺทรปุพฺโพ, ภาทิตฺติยํ, อ. สุภฺ ทิตฺติยํ วา, โณ, อิตฺถิยํ อา.
  2. สภา : (อิต.) โรงเป็นที่กล่าวกัน, โรงเป็นที่ประชุมกล่าว, ภูมิที่ประชุม, ที่ประชุม, ที่ชุมนุม, ที่ชุมนุมกัน, การชุมนุมกัน, การเจรจากัน. วิ. สนฺเตหิ ภาติ ทิปฺปตีติ สภา(ที่รุ่งเรืองด้วยสัตบุรุษ). สนฺตปุพฺโพ. ภาทิตฺติยํ, กฺวิ. สนฺตสฺส สาเทโส. สํคมฺม ภนฺติ เอตฺถาติ วา สภา. ภา อาขฺยาเน. สห ภนฺติ ยสฺสนฺติ วา สภา. หโลโป. สพฺพมฺหิ ภาตีติ วา สภา. ส. สภา.
  3. เกสโสภา : อิต. ความงามแห่งผม, ผมงาม
  4. โสภ : (วิ.) งาม, รุ่งเรือง, ไพโรจน์. สุภฺ ทิตฺติยํ, โณ.
  5. อุปโสภติ : ก. โสภา, สุกใส, งาม
  6. กลฺลหาร : (นปุ.) จงกลณี (บัวดอกคล้ายบวบ ขม) วิ. กสฺส ชลสฺส หารํ วิย โสภากรตฺตา กลฺลหารํ. ก+หาร ลง ลฺ อาคมหลัง ก แปลง ลฺ เป็น ลฺล เป็น ปุ. บ้าง.
  7. สภาย : (นปุ.) ที่รุ่งเรืองด้วยสัตบุรุษ, ที่ประชุม, ที่ชุมนุม, ที่ชุมนุมคน, สภา. วิ. สนฺเตหิ ภาตีติ สภายํ. สนฺตปุพฺโพ, ภา ทิตฺติยํ, โย, สนฺตสฺส สตฺตํ.
  8. สภาคาปตฺติ : (อิต.) อาบัติเหมือนกัน, สภาคาบัติ ชื่ออาบัติที่ภิกษุต้องเหมือนกัน เช่น ต้องอาบัติปาจิตตีย์ เพราะฉันอาหารในเวลาวิกาล ท่านห้ามไม่ให้แสดงแก่กันและกัน ต้องแสดงแก่ภิกษุที่ต้องอาบัติไม่เหมือนกัน ถ้าไม่สามารถหาภิกษุเช่นนั้นได้ จะแสดงก็ได้ แต่ท่านปรับอาบัติทุกกฎ ทั้งผู้แสดงและผู้รับแสดง.
  9. สภาชน : (นปุ.) การแนะนำ, ความพอใจ, ความสุภาพ, ความมีอัธยาศัย, ความเคารพ, ความสมควร, ความถูกต้อง, ความสมเหตุผล. สภาชฺ ปิติทสฺสเนสฺ ปีติวจเนสุ วา, ยุ.
  10. โสภญฺชน : (ปุ.) มะรุม วิ. โสภํ ชเนตีติ โภญฺชโน. โสภปุพฺโพ. ชนฺ ปาตุภเว, อ. โสภติ อญฺชนํ เอเตน เหตุภูเตนาติ วา โสภญฺชโน.
  11. สภาสิลี : (วิ.) มีปกติพูดในที่ประชุม, มักคุย.
  12. โสภคฺค : (นปุ.) ความเจริญ, ความงอกงาม, ความรุ่งเรือง, ความดี, ความสง่า, ความสุข, ความเกษม, ความสำเร็จ, โชคดี. เสาวภาคย์. สุภา+ณฺย ปัจ. สกัด. เอา อุ เป็น โอ ลบ อ ที่ ค ลบ ณฺ แปลง คฺย เป็น คฺค.
  13. โสภติ : ก. งาม
  14. ธมฺมสภา : (อิต.) โรงเป็นที่กล่าวกับเป็นที่ แสดงซึ่งธรรม, โรงเป็นที่ประชุมกล่าว เป็นที่แสดงซึ่งธรรม, ธมฺมสภา (ที่ประชุมสอนศาสนา).
  15. นิกาย : (ปุ.) ที่อยู่, เรือน. วิ. นิจิยฺยเตฉาทิยเตตี นิกาโย. นิปุพโพ, จิ จเย, โย. แปลง จิ เป็น กาในเพราะยปัจ. ฝูง, หมู่, พวก, ประชุม, กอง, คณะ, สภา, บริษัท, นิกาย ชื่อหมวด คัมภีร์ในพระสุตตันตปิฎก มี ๕ นิกาย คือ ๑. ทีฆนิกาย ๒. มัชฌิมนิกาย ๓. สังยุตตนิกาย ๔. อังคุตตรนิกาย และ ๕. ขุททกนิกาย ชื่อหมู่ชนผู้มีธรรมร่วม กันประพฤติธรรมร่วมกัน เช่น มหานิกาย. วิ. นิพฺพิเสเสน จิโนติ อวยเวติ นิกาโย. กุลํ สธมฺมีนํ สมานธมฺมานเมว ชนฺตูนํ คโณ นิกาโย นาม. ส. นิกาย.
  16. นิรุตฺติสภา : (อิต.) สภาแห่งบัณฑิตผู้แตกฉาน ในภาษา, สภาแห่งบัณฑิตผู้มีหน้าที่ เกี่ยวกับภาษา.
  17. กสภาชน : นป. ภาชนะทองสัมฤทธิ์
  18. รฏฺฐสภา : (อิต.) ที่ชุมนุมของบ้านเมือง, ที่ประชุมของรัฐ, ที่ประชุมปรึกษาการบ้านเมือง, รัฐสภา ชื่อองค์การนิติบัญญัติ.
  19. อุสภาชาเนยฺย : (ปุ.) โคผู้รู้ซึ่งเหตุและภาวะมิ ใช่เหตุโดยยิ่ง, โคผู้ ผู้อาจในอันรู้ซึ่งกิจ โดยพลัน, โคผู้อาชาไนย (ผู้ได้รับการฝึก มาดีแล้วรู้เหตุและภาวะมิใช่เหตุได้รวดเร็ว).
  20. อกฺขาต : (นปุ.) สภา. อาปุพฺโพ, ขา ปกาสเน, โต. รัสสะ อุปสรรค ซ้อน กฺ.
  21. กาฬ : (ปุ.) ดำ (สี...), เขียวคราม (สี...), สีดำ, สีเขียวคราม. วิ. วณฺเณสุ เอกโกฏฺฐ าสภา เวน กลฺยเตติ กาโล. โส เอว กาโฬ. กลฺ สํขฺยาเณ, อโล. กาติ ผรุสํ วทตีติ วา กาโฬ. กา สทฺเท, โฬ.
  22. กุว กุวล กุวลฺย : (นปุ.) บัว, บัวสาย. วิ. กุยา ปฐวิยา วลฺยํ อิว โสภกรตฺตา กุวลฺยํ.
  23. โกสชฺช : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้จมอยู่โดย อาการอันบัณฑิตพึงเกลียด, ความเป็นแห่ง ผู้เกียจคร้าน. วิ. กุสีทสฺสภาโว โกสชฺชํ. กุสีท + ณฺย ปัจ. ภาวตัท. แปลง อี เป็น อ พฤทธิ อุ เป็น โอ ลบ อ ที่ ท และ ลบ ณฺ รวมเป็น ทยฺ แปลง ทยฺ เป็น ชฺช. รูปฯ ๓๗๑.
  24. ธตฺต ธุตฺตก : (ปุ.) นักเลง, นักเลงสภา, นักเลงพนัน. ธุ เถริเย, ธู กมฺปเน วา, โต, รสฺโส.
  25. นิจฺจ : (วิ.) เที่ยง, มั่นคง. แน่นอน, ยั่งยืน, ทุกเมื่อ, สะดวก, ประจำ, เนืองๆ, เป็นนิจ, เป็นนิตย์, เสมอ. วิ. นาสภาเวน น อิจฺจํ น คนฺตพฺพนฺติ นิจฺจํ นาสํ น คจฺฉตีติ วา นิจฺจํ นาสบทหน้า คมฺ+กฺวิ ปัจ. ลบ ส และ มฺ แปลง อา เป็น อิ แปลง ค เป็น จ ซ้อน จฺ ส. นิตฺย.
  26. ปมทา : (อิต.) หญิง, ผู้หญิง, นาง. วิ. วิรูเปสุปี มโท ราคมโท ยสฺสา สา ปมทา. ปกฏฺโฐ วา มโท รูปโสภคฺคชนิโต เจโตวิ กาโร ยสฺสา สา ปมทา. เป็น ปมุทา บ้าง.
  27. ภยานก : (ปุ.) ภยานกะ ชื่อนาฏยรสอย่าง ๑ ใน ๗ อย่าง. ภโยปจยสภาโว ภยานโก.
  28. มชฺฌตฺต : (ปุ.) ตนตั้งอยู่แล้วในท่ามกลาง, มัธยัต, อุเบกขา. วิ. มชฺเฌ ฐโต อตฺตา สภาโว มชฺฌตฺโต.
  29. มนุสฺส : (ปุ.) ผู้มีใจสูง, ชนผู้มีใจสูง วิ. มโน อุสฺโส อสฺสาติ มนุสฺโส. ชนผู้รู้ซึ่งเหตุผลและสภาวิมิใช่เตุ วิ. การณาการณํ มนตีติ มนุสฺโส. คนผู้รู้ซึ่งประโยชน์และภาวะมิใช่ประโยชน์ วิ. อตฺถานตฺถํ มนตีติ มนุสฺโส. คนผู้รู้ซึ่งธรรมอันเป็นกุศลและอกุศล วิ. กุสลากุสเล ธมฺเม มนตีติ มนุสฺโส. มนฺ ญาเณ, อุสฺโส. คนผู้รู้ซึ่งประโยชน์ของตนตามกำลัง วิ. ยถาพลํ อตฺตโน หิตํ มนตีติ มนุสฺโส. คนผู้เป็นเหล่ากอของพระมนู, ชาย, มนุษย์, ประชาชน, คน. วิ. มนูโน อปจฺจํ มนุสฺโส. อสฺส ปัจ. โคตดตัท. อภิฯ กัจฯ ๖๗๓.
  30. สพฺภ : (นปุ.) ความดีในสภา, ความสำเร็จในสภา. วิ. สภายํ สาธุ สพฺภํ ณฺยปัจ. ชาตาทิตัท. แปลง ภฺย เป็น พฺภ รูปฯ ๓๖๓.
  31. สภฺย : (ปุ.) คนมีตระกูล, คนผู้เข้าประชุม. วิ. สภายํ สาธุ สโภฺย. ย ปัจ. ลบ อา.
  32. สภาค : (วิ.) เป็นไปกับด้วยส่วน. วิ. สห ภาเคน วตฺตตีติ สภาโค. ร่วมกัน, เท่ากัน, เข้ากันได้, อยู่พวกเดียวกัน, เหมือนกัน, มีส่วนเสมอ, มีส่วนเสมอกัน. วิ. สมาโน ภาโค เยสํ เต สภาคา.
  33. สภาว : (ปุ.) ภาวะของตน, ภาวะแห่งตน, ปกติของตน, ภาวะอันเป็นของมีอยู่แห่งตน, ความเป็นของแห่งตน, ความเป็นของตน, ความเป็นเอง, ความเป็นจริง, ธรรมดา, ธรรมชาติ, สภาวะ, วิ. สสฺส อตฺตโน สนฺโต สํวชฺชมาโน วา ภาโว สภาโว. สยํ วา ภาโว สภาโว. แปลง สยํ เป็น ส หรือลม ยํ.
  34. สุกฎ สุกต : (นปุ.) การทำดี, การทำให้ดี, การทำงานให้ดี, บุญ, กุศล. วิ. สุขํ กโรตีติ สุกฎํ สุกตํ วา. สุขปุพฺโพ, กรฺ กรเณ, โต. ศัพท์ต้นแปลง ต เป็น ฎ. โสภนํ กรณํ อสฺสาติ วา สุกฎํ สุกตํ วา. ลบ ภน แปลง โอ เป็น อุ.
  35. สุกุมาร : (วิ.) ผู้เจริญด้วยคุณ, งาม, อ่อน, ละเอียด. วิ. โสภนํ กุมารํ กนฺติ ยสฺส ตํ สุกุมารํ.
  36. สุธมฺมา : (อิต.) สุธรรมา ชื่อสภาพพระอินทร์. วิ. โสภโน ธมฺโม อสฺสาติ สุธมฺมา.
  37. สุธี : (ปุ.) คนมีปัญญา, นักปราชญ์, บัณฑิต. วิ. โสภนํ ฌายตีติ สุธี. โสภณปุพฺโพ, เฌ จินฺตายํ, อี, ฌสฺส โธ. ลบ ภน เหลือ โส แปลง โอ เป็น อุ. สุนฺทรา ธี อสฺสาติ วา สุธี. ส. สุธี.
  38. สุปณฺณ : (ปุ.) นกมีปีกงาม, ครุฑ. วิ. กนกรุจิรตฺตา โสภโน ปณฺโณ ปกฺโข ยสฺส โส สุปณฺโณ.
  39. สุภ : (วิ.) งาม, ดี, เจริญ, ชอบใจ, เป็นที่ชอบใจ. สุภฺ โสภเน, อ. ส. ศุภ.
  40. อกฺโกธ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ไม่โกรธ, ความเป็นผู้ไม่โกรธ. วิ. อกฺโกธสฺสภาโวอกฺโกธํ.ณ.ปัจ.ภาวตัท.
  41. อญฺญตฺต : (นปุ.) ความเป็นอย่างอื่น, ความเป็นประการอื่น.วิ. อญฺญสฺสปการสฺสภาโวอญฺญตฺตํ
  42. อาณฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งหนี้, ความเป็นหนี้.วิ.อิณสฺสภาโวอาณฺยํ.ณฺยปัจ.ภาวตัท.แปลงอิเป็นอากัจฯ๔๐๖.
  43. อาธิกฺก : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ยิ่ง, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ใหญ่.วิ.อธิกสฺสภาโวอาธิกฺกํ.ณฺญปัจ. ภาวตัท.แปลงยเป็นก
  44. อาธิปจฺจ : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้เป็นใหญ่ยิ่ง, ความเป็นแห่งบุคคลผู้เป็นใหญ่, ความเป็นแห่งอธิบดี, ความเป็นอธิบดี.วิ. อธิป-ติสฺสภาโวอาธิปจฺจํ.ณฺยปัจ.ลบอิที่ติเป็นตฺยแปลงตฺยเป็นจฺจ.
  45. อาธิปเตยฺยอาธิปฺปเตยฺย : (นปุ.) แปลเหมือนอาธิปจฺจ.วิ.อธิปติสฺสภาโวอาธิปเตยฺยํวา.เณยฺยปัจ.าวตัท.รูปฯ ๓๗๑.
  46. อาโรคฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้หาโรคมิได้, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ไม่มีโรค, ความเป็นผู้ไม่มีโรค, วิ.อโรคสฺสภาโวอาโรคฺยํณฺยปัจ.ภาวตัท.ส.อาโรคฺย.
  47. [1-46]

(0.0620 sec)