อุปฺปกฺก : ค. บวมขึ้น, โน, โหนก, พอง
กม : (ปุ.) กระบวน, แบบ, ลำดับ. กมุ อิจฺฉา- กนฺตีสุ, อ. อภิฯ ลง ณ ปัจ. ไม่ทีฆะ. ความก้าวไป. กมุ ปทวิกฺเขเป.
ปโหนก : ค. เพียงพอ, พอเพียง
คณฺฑ : (ปุ.) แก้ม. คณฺฑฺ วทเนกเทเส, อ. คมฺ คติยํ วา, โฑ. วิ. คจฺฉติ สุนภาวนฺติ คณฺ โฑ. แปลง มฺ เป็น ณฺ.
กโปล : (ปุ.) แก้ม, กระพุ้งแก้ม, กำโบล, กโบล. วิ. เกน ชเลน ปูรียเตติ กโปโล. กปุพฺโพ, ปูรฺ ปูรเณ, อโล, รฺโลโป. กปติ ทนฺเต อจฺฉาเทตีติ วา กโปโล. กปฺ อจฺฉาทเน, โอโล. ส. กโปล.
กุฏกสีส : (ปุ.) คนหัวโหนก, คนหัวคอน.
อกฺขิคณฺฑ : นป. โหนกตา
อวคณฺฑการ : ป. การทำแก้มตุ่ยๆ
อวคณฺฑการก : ค. ซึ่งทำแก้มตุ่ยๆ
กมติ : ก. ก้าวไป, ดำเนินไป; บรรลุ
กมนีย : นป. สิ่งที่น่าใคร่, สิ่งที่น่าปรารถนา
กมลินี : อิต. สระบัว
กมลี : ค. มีบัวมาก, เดียรดาษด้วยดอกบัว
ปรกฺกม : (ปุ.) ธรรมเป็นเครื่องก้าวไปยังคุณใน เบื้องหน้า, การก้าวไปสู่คุณในเบื้องหน้า, การก้าวไปข้างหน้า, ความก้าวไปข้างหน้า, ความเป็นคนกล้า, ( ไม่กลัวหนาว ฯลฯ ) , ความเพียร, ความบากบั่น, ความตะเกียกตะกาย ( พยายามทุกทางเพื่อให้ ประสบความสำเร็จ ) . วิ. ปรํ ปรํ ฐนํ อกฺกมตีติ ปรฺกกโม. ปรํ ปจฺจนึกภูตํ โกสฺชฺชํ อกฺกมตีติ วา ปรฺกกโม. ปรปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, อ. ซ้อน กฺ.
อกฺกม อกม : (วิ.) เหยียบ. อา บทหน้า กมฺ ธาตุ อ ปัจ. รัสสะ อา เป็น อ ศัพท์ หน้าซ้อน กฺ.
อุกฺกม : (ปุ.) ความขยัน, ฯลฯ. อุปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, อ, ยุ.
อุปกม อุปกฺกม : (ปุ.) การก้าวไปก่อน, ความหมั่น, ฯลฯ. อุปปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, อ. ศัพท์หลังซ้อน กฺ. ส. อุปกฺรม.
โอกฺกม : (ปุ.) การหยั่งลง, การย่างลง, การก้าวลง, ความหยั่งลง, ฯลฯ. โอปุพฺโพ, กมฺ ปทวิกฺเขเป, อ, ยุ.
โอปกฺกม : (ปุ.) ความเพียร, อุปกฺกมศัพท์ พฤทธิ์ อุ เป็น โอ.
กิมิ : (ปุ.) หนอน, แมลง, แมลงต่าง ๆ, ตั๊กแตน, กฤมิ. วิ. กุจฺฉิตํ อมตีติ กิมิ. กุปุพฺโพ, อมฺ คติยํ, อิ. แปลง อุ ที่ กุ เป็น อ แล้ว แปลงเป็น อิ. กียติ หึสียติ กิปิลฺลิกาทีหิ พลวสวิสติรจฺฉานคตาทีหิ กินาติ หึสติ วา ปรสตฺเตติ กิมิ. กิ หึสายํ, อิ มฺ อาคโม. มิ ปจฺจโย วา. ส. กฤมิ กริมิ.
กิมุ : (อัพ. นิบาต) หรือ, หรือว่า, หรือไม่.
กิมุ, กิมุต : อ. หรือ, หรือว่า, หรือไม่, อย่างใด, เท่าใด, เหมือนอย่างนี้
กีมิ : (ปุ.) หนอน, ฯลฯ. วิ. ปจฺจามิตฺเต กีณาตีติ กีมิ. กี หึสายํ, มิ. ดู กิ หึสายํ.
กูม : (ปุ.) ทะเลสาบ, บึง, หนอง. ส. กูม.
จงฺกม : (ปุ.)
จงฺกมติ : ก. จงกรม, เดินเวียนรอบไปมา
จตุกฺกม : ค. ซึ่งก้าวไปด้วยเท้าสี่, ซึ่งเดินสี่ขา (สัตว์สี่เท้า)
จีวรสงฺกมนีย : นป. จีวรที่ต้องส่งคืน, จีวรของผู้ที่ตนนำมาใช้โดยไม่บอกเจ้าของจำต้องส่งคืนเจ้าของเดิม
ฐานานุกฺกม : (ปุ.) อันก้าวไปตามซึ่งตำแหน่ง, ความก้าวไปตามฐานะ, ฐานานุกรม ชื่อ ลำดับตำแหน่งสมณศักดิ์พระสงฆ์ ซึ่งพระ ราชาคณะมีอำนาจตั้งสมณศักดิ์ให้ตามที่ ท่านได้มาเมื่อรับพระราชทานสมณศักดิ์.
ตกฺกากม : ป. ลำดับแห่งความตรึก
ตถปรกฺกม : ป. การก้าวเข้าไปสู่ความเป็นจริง
ทฬฺหนิกฺกม : ค. มีความเพียรมั่นคง, มีความพยายามเด็ดเดี่ยว
ทฬฺหปรกฺกม : ค. มีความบากบั่นมั่นคง, มีความพากเพียรเด็ดเดี่ยว
นิกฺกม : (ปุ.) อันก้าวออก, อันออกไป, อันก้าว ออกไป, อันขยายออกไป, การก้าวออก. ฯลฯ, ความเพียร.
นิกฺกมติ : ก. ก้าวต่อไป, พยายาม
ปกฺกม : ป. การก้าวไป, การจากไป, การหลีกไป
ปกฺกมติ : ก. หลีกไป
ปฏิกฺกม : ป. การถอยกลับ, การกลับไป, การหลีกออกไป, การเลิกรา
ปฏิกฺกมติ : ก. ถอยกลับ, กลับมา, กลับไป, หลีกออกไป
ปฏิคฺคณฺหนก : ค. ผู้รับ, ผู้รับเอา, ซึ่งรองรับไว้
ปทานุกฺกม : (วิ.) การก้าวไปตามซึ่งบท, ลำดับแห่งบท, ปทานุกรม ชื่อตำราแปลศัพท์เรียงตามลำดับแห่งบท ( อักษร ).
ปรกฺกมติ : ก. บากบั่น, มุ่งมั่น, พากเพียร, ก้าวหน้า
ปรกฺกม, - มน : ป., นป. ความบากบั่น, ความมุ่งมั่น, ความพากเพียร
ปรูปกฺกม : ป. การรุกรานของข้าศึก
ปสงฺกมติ : ก. ดำเนินไป, ก้าวไป
ปุริสปรกฺกม : ป. การก้าวไปข้างหน้าของบุรุษ, ความพยายามของบุรุษ
โมหนก : ค.นอกลู่นอกทาง, งงงวย
ยถากฺกม : (วิ.) ตามลำดับ, ตามลำดับกัน.
ยถากฺกม : ก. วิ. ตามลำดับ