กเมติ : ก. ปรารถนา, อยาก, ใคร่
อญฺชติ : ก. ๑. ฉิบหาย
๒. แจ้งชัด
๓. ทา, ไล้, หยอด
๔. ไป, รัก, ใคร่, รักใคร่
๕. ดึงออก, เหยียดออก
อิฏฺฐ : (วิ.) พอใจ, พึงใจ, น่าพึงใจ, ชอบใจ, ใคร่, สวย, งาม. ปรารถนา, ต้องการ, อิสุ อิจฺฉายํ, โต. แปลง ต เป็น ฏฺฐ ลบ สุ. ส. อิษฺฎ.
คร : (นปุ.) พิษ เช่นพิษงู. ครฺ นิครเณ, อ. เป็น ปุ. ก็มี.
กาม : (วิ.) ใคร่, ยินดี, รัก รักใคร่, ชอบใจ, พอใจ, หวัง, ต้องการ, มุ่ง, อยากได้, ปรารถนา.
อิจฺฉก : ค. ใคร่, ปรารถนา, ต้องการ
กตฺตุกมฺยตา : อิต. ความอยากทำ,ความใคร่ทำ
กตฺตุกาม : ค. ใคร่ทำ, อยากทำ
กตฺตุกามตา : อิต. ความอยากทำ,ความใคร่ทำ
กนฺต : (วิ.) ดี. งาม, ดีงาม, ดีนัก. พอใจ, รักใคร่, ชอบใจ, เป็นที่พอใจ, เป็นที่ชอบ ใจ. กมุ กนฺติยํ, โต. แปลง ต เป็น นฺต ลบ มุ. ส. กนฺต.
กนฺติ : (อิต.) ความปรารถนา, ความอยากได้, ความรัก, ความรักใคร่, ความชอบใจ, ความยินดี, ความต้องการ, อำนาจ. กมุ อิจฺฉากนฺตีสุ, ติ แปลง ติ เป็น นฺติ ลบที่ สุดธาตุ. ความงาม, ความสวยงาม, ความรุ่งเรือง, รัศมี, แสง. วิ. กนตีติ กนฺติ. กนนํ วา กนฺติ. กนฺ. ทิตติยํ, ติ. การก้าว ไป, ความก้าวไป. วิ. กมนํ กนฺติ. กมฺปท วิกฺเขเป, ติ.
กนฺติก : ค. ๑. ผู้ปั่น, ผู้หมุน, ผู้ติด;
๒. ผู้ใคร่, น่าพอใจ
กมนีย : นป. สิ่งที่น่าใคร่, สิ่งที่น่าปรารถนา
กมฺมกาม : ค. ผู้ใคร่ในการงาน, ผู้รักงาน
กมฺย : (นปุ.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ปรารถนา, ความเป็นแห่งบุคคลผู้ใคร่, ความเป็นแห่ง การก้าวไป, ความเป็นแห่งการดำเนินไป. กมศัพท์ ณฺย ปัจ. ภาวตัท. ลบ อ ที่ ม แล้วลบ ณฺ.
กมิตุ : (วิ.) ผู้ใคร่, ผู้ใคร่จัด. กมุ อิจฺฉายํ, ริตุ.
กเมตพฺพ : กิต. พึงปรารถนา, พึงใคร่
กลฺยาณกาม : ป., ค. ใคร่ในสิ่งที่ดีงาม
กาตุกาม : (วิ.) ผู้ใคร่เพื่ออันทำ, ผู้ต้องการทำ, ผู้สนใจทำ.
กาตุกามตา, กาตุกมฺยตา : อิต. ความเป็นผู้ใคร่เพื่อทำ, ความประสงค์จะทำ
กามก : ค. ผู้มีความใคร่, ผู้มีความอยาก
กามกร : ป., นป. การทำความใคร่, การตั้งความใคร่
กามกาม : ค. ผู้รักใคร่ในกาม, ผู้ปรารถนาในกาม
กามฉนฺท : (ปุ.) ความพอใจในความใคร่, ฯลฯ, ความพอใจในกาม, ความพอใจในกามทั้ง ๕.
กามตณฺหา : (อิต.) ความกำหนัดแห่งจิตอัน สหรคตด้วยกามธาตุ ความอยากในความใคร่, ฯลฯ, ความพอใจในกามทั้ง ๕, ตัณหาคือกาม.
กามตฺถกาม : ค. ผู้ปรารถนาความดีงาม, ผู้ใคร่เพื่อประโยชน์แก่กาม
กามตา : อิต. ความอยาก, ความใคร่
กามน : (วิ.) ผู้ใคร่, ผู้ใคร่จัด. กมุ อิจฺฉายํ, ยุ. เป็น กมน กามิน บ้าง. ส. กามน กามินฺ
กามนิกฺกาม : ค. ผู้ไม่มีความใคร่ในกาม, ผู้เบื่อกาม
กามมคฺค : ป. กามมรรค, วิถีทางเป็นที่ดำเนินไปเพื่อความใคร่, ช่องสังวาส
กามยิตุ : ค. ผู้ใคร่
กามยิตุ กามิ : (วิ.) ผู้ใคร่ วิ. กาเมตีติ กามยิตา กามิ วา. ริตุ, ณิ ปัจ. ลบ รฺ ลง ยฺ อาคม.
กามรส : ป. กามรส, รสแห่งความใคร่
กามเหตุ : ค. มีความใคร่เป็นเหตุ
กามาตุล : ค. ผู้ทุรนทุรายเพราะความใคร่เป็นเหตุ, ผู้ป่วยใจ
กามาธิกรณ : ค. ผู้มีความใคร่เป็นเหตุให้เกิดเรื่อง
กามาภิภู : ค. ผู้ครอบงำความใคร่, ผู้ชนะกาม
กามิ : ค. ผู้ใคร่
กามินี : อิต. กิริยาทำให้ใคร่, มารยาหญิง
กามี : ป., ค. พระจันทร์, นกกระจอก; ผู้ใคร่
กามุก : (วิ.) ผู้ใคร่โดยปกติ วิ. กาเมติ สีเลนาติ กามุโก. ผู้ใคร่ วิ. กาเมตีติ กามุโก. กมฺ กนฺติยํ, ณุโก.
กิเลสกาม : (ปุ.) กิเลสอันสัตว์พึงใคร่, กิเลสที่ สัตว์พึงใคร่, กิเลสให้สัตว์ใคร่, กิเลสเป็น เหตุใคร่.
เกตุกมฺยตา : (อิต.) ความเป็นแห่งบุคคลผู้ใคร่ ดังธงนำหน้า, ความเป็นแห่งบุคคลผู้มีจิต ใคร่ดังธงนำหน้า, ความเป็นผู้มีจิตใคร่ดัง ธงนำหน้า.
คนฺตุกาม : (วิ.) ผู้ใคร่เพื่ออันไป วิ. คนฺตํ กาโม คนฺตุกาโม.
คิทฺธ : (วิ.) กำหนัด, ยินดี, รัก,รักใคร่, ชอบใจ, โลภ. คิธฺ อภิกํขายํ, โต. แปลง ต เป็น ทฺธ ลบที่สุดธาตุ ถ้าตั้ง คิทฺธฺ อภิกํขายํ. ลง อ ปัจ.
เคธ : (วิ.) กำหนัด, อยาก, ปราถนา, ยินดี, ชอบใจ, พอใจ, ติดใจ, รัก, รักใคร่. คิธฺ อภิกํขายํ, โณ.
ฉนฺท : (ปุ.) สภาพผู้อาศัยจิตนอนอยู่, ความตั้ง ใจ, ความพอใจ, ความชอบใจ, ความปรา- รถนา, ความต้องการ, ความอยาก, ความอยากได้, ความมุ่งหมาย, ความยินดี, ความรัก, ความรักใคร่, ความสมัคร, ความสมัครใจ, ความเต็มใจ, ความอยู่ในอำนาจ, อัธยาศัย, ตัณหา, พระเวท. ฉนฺทฺ อิจฺฉายํ, อ. ส. ฉนฺท. ฉนฺท ฉันท์ ชื่อคำประพันธ์อย่าง ๑ มีหลาย ชื่อ มีหลักการวางคำ ครุ ลหุ และจำนวน คำแต่ละบาทต่างๆ กัน วิ. วชฺชํ ฉาทยตีติ ฉนฺทํ. ฉทฺ สํวรเณ, อ, นิคฺคหิตาคโม. ส. ฉนฺทสฺ.
ฉนฺทช : ค. เกิดความพอใจ, เกิดความรักใคร่หรือปรารถนา
ฉนฺทาคติ : (อิต.) ความลำเอียงเพราะความรัก, ความลำเอียงเพราะความรักใคร่, ความลำเอียงเพราะความรักใคร่กัน ความลำ เอียงเพราะความพอใจ.
ฉนฺทาธิปเตยฺย : ค. ตกอยู่ในอำนาจความรักใคร่หรือพอใจ, มีความรักใคร่พอใจเป็นใหญ่