คร : (นปุ.) พิษ เช่นพิษงู. ครฺ นิครเณ, อ. เป็น ปุ. ก็มี.
กีทิส กีทิกฺข กีริส กีริกฺข กีที : (วิ.) เช่นไร, ผู้เช่นไร. วิ. กมิว นํ ปสฺสตีติ กีทิโส (เห็น ซึ่งบุคคลนั้นราวกะบุคคลไร, ...ราวกะว่า ใคร). โก วิย นํ ปสฺสตีติ กีทิโส วา (เห็น ซึ่งบุคคลนั้นราวกะ อ. ใคร). กีปุพฺโพ, ทิสฺ เปกฺขเณ, กฺวิ. ลบ นิคคหิต ทีฆะ ศัพท์ที่ ๒ และ ๔ แปลง ส เป็น กฺข ศัพท์ที่ ๓ และ ๔ แปลง ท เป็น ร ศัพท์ที่ ๕ แปลง ส เป็น อี รูปฯ ๕๗๒. โมคฯ สมาสกัณฑ์ ๘๗ ลง ริกฺข ปัจ.
ก. : ๑. ป. พระพรหม ; ลม; ไฟ ; ใจ;
๒. นป. หัว, ผม; น้ำ;
๓. ส. ใคร? อะไร? สิ่งไหน?
จาริตฺต : (นปุ.) ความประพฤติ, ความสมสู่ อู่. จาริตฺตํ อาปชฺชิตฺวา ถึงความสมสู่, จารีต. รูปฯ ๖๕๑ ให้ วิ. ว่า จริตานํ คโณ จาริตฺตํ. อถวา, จรนฺติ ตสฺมึ ปริปูริการิตายาติ จาริตฺตํ. จรฺ จรเณ, ณิตฺตปจฺจโย. ไทย จารีต คือสิ่งที่ประพฤติต่อๆ กันมาประเพ ณีที่ถือสืบต่อกันมาหรือการปฏิบัติที่ทำเป็น ประจำ มักพูดว่า จารีตประเพณีใครฝ่าฝืน ถือว่าเป็นผิดเป็นชั่ว.
ตณฺหา : (อิต.) ความกระหาย, ความระหาย, ความอยาก, ความอยากได้, ความทะยาน (ดิ้นรน), ความทะยานอยาก (อยากได้ อยากมี อยากเป็น), ความกำหนัด (ความใครในกามคุณ), ความว่องไว (ใน อารมณ์), ความสน (นิ่งอยู่ไม่ได้), ความดิ้นรน, ความปรารถนา (ในกาม), ความเสน่หา (ติดพัน), ความแส่หา (ดิ้นรน), โลภ ความโลภ (อยากใคร่ในอารมณ์), ดำฤษณา, ตฤษณา. วิ. ตสนํ ตณฺหา. ยาย วา ตสนฺติ สา ตณฺหา ตสฺ ปิปาสายํ, ณฺห, สโลโป. ตสติ ปาตุ มิจฺฉติ เอตายาติ วา ตณฺหา. ตสติ ปาปํ อิจฺฉติ เอตายาติ วา ตณฺหา. ห ปัจ แปลง ณ. ส. ตฤษณา
พฺรหฺมทณฺฑ : (ปุ.) ไม้แห่งพระพรหม, อาชญาของพระพรหม, อาชญาอันประเสริฐ, พรหมทัณฑ์ ชื่อ การลงโทษอย่างสูงอย่างหนึ่งของพุทธศาสนา คือห้ามไม่ว่ากล่าวภิกษุหัวดื้อว่ายากสอนยากห้ามไม่ ให้ใครพูดด้วย. ปัจจุบันนี้ยังใช้ได้ผลหรือไม่?
มุขร : (วิ.) ปากกล้า, พูดไม่เกรงกลัวใคร.
สิ : (อัพ. นิบาต) ปุจฺฉนตฺถวจนนิปาต. อุ. โก สิ อ. ใครเล่า.
อคฺคหิตตฺต : (นปุ.) ความที่แห่งบุคคล เป็นผู้มีจิตอันใคร ๆ เชื่อไม่ได้, ความที่แห่งจิต เป็นจิตอันใคร ๆ ไว้ใจไม่ได้.
อญฺญาตก : ค. ซึ่งไม่ใช่ญาติ, ซึ่งไม่มีใครรู้จัก
อติมาน : (ปุ.) ความเย่อหยิ่ง, ความจองหองอติมานะ (เย่อหยิ่งจองหองดูถูกท่านดูหมิ่นท่านดูหมิ่นถิ่นแคลนการถือตัวว่ายิ่งกว่าใคร ๆ).ส.อติมาน.
อนฺตลิกฺข : (ปุ.) อากาศเป็นที่เห็นซึ่งรูปในระ-หว่าง, อากาศ, กลางหาว, ประเทศมีรูปอันใคร ๆ พึงเห็นในระหว่าง.ส. อนฺตริกฺษ.
อนีตีห : ค. รู้เอง, รู้โดยไม่มีใครบอก
อปราชิตปลฺลงฺก : (ปุ.) บัลลังก์อันใคร ๆ ชนะไม่ได้, บัลลังก์อันใคร ๆ แย่งชิงไม่ได้, อปราชิตบัลลังก์คือบัลลังก์ที่พระพุทธเจ้าประทับนั่งวันตรัสรู้.
อมูฬฺหวินย : (ปุ.) อมูฬหวินัยชื่อวิธีระงับอธิ-กรณ์อย่างหนึ่งในเจ็ดอย่างถ้ามีภิกษุเป็นบ้าเมื่อหายบ้าแล้วสงฆ์จะสวดประกาศมิให้ใครโจทท่านด้วยอาบัติที่ท่านทำขณะเป็นบ้าเรียกว่าอมูฬหวินัย.
อวาวฏ : ค. เป็นอิสระ, ไม่มีใครขัดขวาง, ซึ่งยังไม่ได้แต่งงาน
อสงฺคหก : ค. ผู้ไม่สงเคราะห์ใคร
อสามนฺต : ค. ไม่ใกล้เคียง, ไม่มีใครทัดเทียม, สามารถยิ่ง
อิสฺสรภาว : (ปุ.) ความเป็นแห่งชนผู้เป็นใหญ่, ความเป็นแห่งความเป็นใหญ่, ความเป็น ใหญ่, อิสสรภาพ อิสรภาพ (ความเป็น ใหญ่ในตัวเอง ความไม่ขึ้นแก่ใคร).
ครหก : ค. ผู้ให้ร้าย, ผู้ใส่โทษ, ผู้ติเตียน
คิร : (ปุ.) ภูเขา. คิรฺ นิคฺคีรเณ, อ.
คิริ : (ปุ.) ภูเขาชื่อ คิริ, ภูเขา คิริ, ภูเขา. วิ. คิรติ ปสวติ โอสธาทโยติ คิริ. คิรฺ นิคฺคีรเณ, อิ. เวสฯ วิ. คิรติ สทฺทํ กโรตีติ คิริ.
ครหณ ครหน : (นปุ.) ความเกลียด, ฯลฯ, การติเตียน, ฯลฯ. ยุ ปัจ.
ครุ : (วิ.) ใหญ่, มาก, หนัก, สูง, สูงสุด, ให้ คร่ำคร่ายาก. ลง ก สกัด เป็น ครุก บ้าง.
คุรุ : (วิ.) ใหญ่, หนัก, สูง, สูงสุด.
โคร : (วิ.) ขาว, เผือก. วิ. คูยเตติ โคโร. คุ สทฺเท, โร.
ปภงฺคุณ, - คุร : ค. แตกสลาย, ผุพัง, ย่อยยับ, เปื่อยเน่า, เปื่อยเปราะ
ปาปครหี : ค. ผู้ติเตียนบาป, ผู้เห็นบาปเป็นสิ่งน่าติเตียน
พหินคร : นป. นอกเมือง
อริยครหี : ค. ผู้ติเตียนพระอริยะ
คารยฺห : (วิ.) ต่ำช้า, เลว, เลวทราม, น่าเกลียด, น่าชัง, น่าติเตียน, อัน...พึงเกีลยด, อัน...พึง ติเตียน. วิ. ครหิตพฺโพติ คารโยฺห. รูปฯ ๕๔๐ วิ. อครยฺหิตฺถ ครหียติ ครหียิสฺสตีติ คารโยฺห คารยฺหา คารยฺหํ. ครหฺ กุจฺฉน นินฺทาสุ, โณฺย. แปลง คร เป็น คาร ลบ ณฺ แปร ย ไว้หน้า ห.
กเมติ : ก. ปรารถนา, อยาก, ใคร่
กาม : (วิ.) ใคร่, ยินดี, รัก รักใคร่, ชอบใจ, พอใจ, หวัง, ต้องการ, มุ่ง, อยากได้, ปรารถนา.
ขณ : (ปุ.) ครู่, ครั้ง, คราว, สมัย, เมื่อ (ครั้ง คราว), นาที, ขณะ, กษณะ. วิ. สตฺตานํ อายุ ขียติ หายติ เอตฺถ กาเลติ ขโณ. ขี ขเย, ยุ. ขณฺ หึสายํ วา, อ. ส. กฺษณ.
คพฺพ : (ปุ.) ความหยิ่ง, ความจองหอง, ความไว้ตัว, ความถือตัว. วิ. คพฺเพติ น สํกุจตีติ คพฺโพ. คพฺพฺ มาเน, อ. ครติ อญฺเญ อเนน ปีเฬตีติ วา คพฺโพ. ครฺ เสจเน, โพ.
คพฺภ : (ปุ.) ท้อง ชื่อส่วนของร่างกายด้านหน้า ตั้งแต่ลิ้นปี่ลงไปจนถึงบริเวณต้นขา มี สะดืออยู่กลางมีกระเพาะและใส้อยู่ภายใน เรียกได้ทั้งของผู้หญิงและของผู้ชาย, ครรภ์ เรียกเฉพาะของผู้หญิง. คุ สทฺเท, อโภ, อุสฺส อตฺตํ, ทฺวิตฺตํ (แปลง อุ เป็น อ แปลง ภ เป็น พฺภ). ครฺ วา เสจเน, อโภ. แปลง รฺ เป็น พฺ หรือตั้ง คพฺภฺ ธารเณ, อ.
คพฺภร : (นปุ.) ถ้ำ, ซอกเขา, คูหา. คพฺภฺ ธาร- เณ, อโร. ครฺ เสจเน วา, ภโร, รสฺส พตฺตํ.
ครฬ : (นปุ.) พิษ (เช่นพิษงู) วิ. ครตีติ ครฬํ. ครฺ อทเน, อโฬ. คริติ ชีวนนฺติ วา ครฬํ. คิรฺ นิคิรเณ, อโฬ, อิสฺส อตฺตํ.
ครุวาร : (ปุ.) วันครู, วันพฤหัสบดี. ส. วฺฤหสฺปติ. พระนารายณ์ วิ. ครํ วิสํ หนฺตีติ ครุโฬ. ครปุพฺโพ, หา จาเค, โณ, รการสฺส รุ, หสฺส ฬตฺตํ. ครํ ภารํ ลาตีติ ครุโฬ. ครุปุพฺโพ, ลา อาทาเน, อ, ลสฺส ฬตฺตํ. นกตระไน ก็แปล.
คโฬจี : (อิต.) เถาเน่า, เถาหัวด้าน, เขาหัวด้วน, บอระเพ็ด, กระโพงโหม. คฬฺ รกฺขเณ, ครฺ เสจเน วา, โอโจ, อิตฺถิยํ. อี. ถ้าตั้ง ครฺ แปลง รฺ เป็น ฬฺ.
คิมฺห คิมฺหาน คิมฺหนฺต คิมฺหนฺตอุตุ : (ปุ.) ฤดูร้อน, หน้าร้อน. วิ. คิรติปีฬยตีติ คิโมฺห. คิรฺ นิปฺปีฬเน, โม, รสฺส โห, วณฺณวิปริ- ยาโย. คจฺฉตีติ วา คิโมฺห. คมฺ คติยํ, อ, อสฺสิตฺตํ, มสฺส โห, นิคฺคหิตาคโม. คิมฺหาน ตั้ง คิรฺ ธาตุ มาน ปัจ. แปลง รฺ เป็น ห แล้ว เปลี่ยนอักษร.
ติมิงฺคล : (ปุ.) ติมิงคละ ชื่อปลาใหญ่, ปลา ติมิงคละ. วิ. ติมิโน คโล ติมิงฺคโล. ติมํ คิลตีติ วา ติมิงฺคโล. ติมิปุพฺโพ , คิลฺ อทเน, อ, อิสฺสตฺตํ คิรฺ นิคิรเน, วา, รสฺส ลตฺตํ. ส. ติมฺคล.
นิครณ นิคิรณ : (วิ.) คาย, ไหลออก, อาเจียน, รด, ราด, โปรย. นิปุพฺโพ, ครฺ วมนเสจเนสุ, ยุ. ศัพท์หลังแปลงเป็น อ เป็น อิ.
ปาฏงฺกี : อิต. เก้าอี้, แคร่, วอ
ปีฐ : นป. ตั่ง, ที่นั่ง, แคร่, ร้าน, ที่วางของขาย
มญฺจ มญฺจก : (ปุ.) แท่น, แคร่, เตียง, ที่นอน. วิ. มญฺจติ ปุคฺคลํ ธาเรตีติ มญฺโจ มญฺจโก วา. มจิ ธารเณ, อ. ศัพท์หลัง ก สกัด.
มหาสมย : (ปุ.) ครั้งใหญ่, คราวใหญ่, ครวาประชุมใหญ่, มหาสมัย.
มุคฺคร : (นปุ.) ค้อน, ไม้ค้อน, ตะบอง. วิ. มุทํ คีรตีติ มุคฺคโร. มุทปุพฺโพ, คิรฺ นิคฺคิรเณ, อ. แปลง ท เป็น ค อิ เป็น อ. มุจฺ โมจเน วา, อโร. แปลง จฺ เป็น คฺ ซ้อน คฺ.
มุหุตฺต : (ปุ.) กาลขณะหนึ่ง, กาลครู่หนึ่ง, เวลาขณะหนึ่ง, เวลาครู่หนึ่ง, ครู่ (ประเดี๋ยวเดียว), ครู่หนึ่ง. หุจฺฉฺ โกฏิเลฺยฺ, โต. มุอาคมต้นธาตุ ลบ จฺฉฺ แปลง ต เป็น ตฺต.