Dictionary : English, Thai, Pali. Link : Lexitron, RoyDict, BudDict, ETipitaka, PpmDict, Longdo.
Search: ในที่ , then นท, ในที่ .

ETipitaka Pali-Thai Dict : ในที่, 46 found, display 1-46
  1. นท : (ปุ.) บุคคลผู้บันลือ, บุคคลผู้ร้อง, การบันลือ, ฯลฯ, แม่น้ำ, ลำน้ำ, นทฺ อพฺยตฺตสทฺเท, อ . ส. นท แม่น้ำ.
  2. กตฺถจิ : (อัพ. นิบาต) ใน...ไหน, ใน...ไร, ในที่ ไหน, ในที่แห่งไร.
  3. กห : (อัพ. นิบาต) ใน...ไหน, ใน...ไร, ในที่ ไหน, ณ ที่ไหน. ส. กรฺหิ.
  4. ชมฺพุ (พู) นท : นป. ทองชมพูนุท, ทองเนื้อดี
  5. นทติ : ก. บันลือ, แผดเสียง, คำราม, ร้อง
  6. โกกนท โกกนุท : (นปุ.)บัวแดง,โกกนุท.วิ.โกเก นาทยตีติ โกกนทํ โกกนุทํ วา.โกกปุพฺโพ, นทฺ อพฺยตฺตสทฺเท, อ.อภิฯ ลง ณ ปัจ. เก กนตีติ โกกนทํ โกกนุทํ วา.กนฺ ทิตฺติกนฺตีสุ, โท, อสฺโส. ส. โกกนท.
  7. ชมฺพุนท ชมฺพูนท : (นปุ.)ชัมพุนทะ ชัมพูนทะ, ชัมพูนท ชมพูนท ชมพูนุท ชามพูนุท ชามพูนทะ, โชมโพนทะ ชื่อทองพิเศษ ๑ ใน ๔ อย่าง, ทอง, ทองคำ, ทองชมพุนุท (ทองที่เกิดแทบต้นหว้าเนื้อบริสุทธิ์). วิ. เทวรุกฺขภุตาย มหาชมฺพุยา ปติฏฺฐตฏฺฐาเน นที ชมฺพุนที, ตสฺสํ ปติเตหิ มหาคชปฺป – มาณานํ กุมฺภปฺปมาณานํ วา ผลานํ พีเชหิ ชาตํ สุวณฺณํ ชมฺพุนทํ ชมฺพูนทํ วา. ส. ชามพูนท.
  8. ชมฺโพนท : นป. ดู ชมฺพุนท
  9. นที : (อิต.) แม่น้ำ, นัทรี, วิ. อภิฤขณํ นทตีติ นที, ส. นที.
  10. นินท : (ปุ.) เสียง วิ. นิรตฺโถ นโท นินโท. ส. นินท.
  11. โกกนท : นป. บัวแดง
  12. โกกนทพนฺธุ : ป. พระอาทิตย์
  13. ชมฺพูนท : (อิต.) แม่น้ำชมพู.
  14. ตม (โม) นุท : ค. ผู้บรรเทาความมืด, ผู้ขจัดความมืด
  15. นิท : ป. ยาพิษ
  16. นินท, นินาท : ป. เสียง
  17. นุท : ค. ไล่ออกไป
  18. อนฺนท : (ปุ.) บุคคลผู้ให้อาหาร.อนฺนปุพฺโพ, ทาทาเน, อ.
  19. อภินทติ : ก. บันลือ, แผดเสียง, คำราม
  20. อานทติ : ก. ร้อง, แผดเสียง, ร้องแปร๋แปร๋น
  21. อุนฺนทติ : ก. แผดเสียง, คำราม, ตะโกน
  22. อุปนทติ : ก. ร้อง, บันลือ, แผดเสียง, แซ่ซ้อง, ร้องกึกก้อง
  23. กถาวตฺถุ : นป. เรื่องที่นำมาสนทนา, ชื่อของคัมภีร์เล่มที่ห้า ของอภิธรรมเจ็ดคัมภีร์
  24. กลฺโลล : (ปุ.) ระลอก, คลื่น, ระลอกใหญ่, คลื่น ใหญ่. วิ. วาตเวเคน สมุทฺทโต กลฺลติ นทตีติ กลฺโลโล. กลฺลฺ สทฺเท, โอโล. ส. กลฺโลล.
  25. กุทสฺสุ : อ. เมื่อไร? แน่แท้ แน่นอน
  26. ขลุ : อ. แน่แท้, แท้จริง, ได้ยินว่า
  27. ฆานินฺทฺริย : (นปุ.) ความเป็นใหญ่ในการสูดดม อินทรีย์คือจมูก, ฆานินทรีย์ (สิ่งที่เป็น ใหญ่ในหน้าที่ดม).
  28. จนฺทคฺคาห : ป. การจับพระจันทร์ (แห่งอสุรินทราหู), จันทรคราส, จันทรุปราคา
  29. ชีวิต : (นปุ.) ความเป็น, ความเป็นอยู่, อายุ, ชีวิต, ชีวัน, ชีวิตินทรีย์. ชีวฺ+ตปัจ.อิอาคม.
  30. ชีวิตินฺทฺรย ชีวินฺทฺริย : (นปุ.) ความเป็นอยู่, อินทรีย์ คือชีวิต, อายุ, ชีวิต, ชีวิตินทรีย์ ได้แก่ เจตสิกที่เป็นใหญ่ในการรักษานาม ธรรม.
  31. ชีวิตินฺทฺริย : นป. ชีวิตินทรีย์, ความเป็นใหญ่แห่งชีวิต, กำลังแห่งชีวิต, ความสำคัญแห่งชีวิต, อินทรีย์คือชีวิต
  32. ญาณินฺทฺริย : นป. ญาณินทรีย์, พลังแห่งญาณ, ความสามารถหรือยิ่งใหญ่แห่งญาณ
  33. ตาว : (อัพ. นิบาต) ตราบนั้น, เพียงนั้น, เท่านั้น, โดยแท้, แน่แท้, ก่อน, แรก.
  34. - ท : ค. ปัจจัยซึ่งมาจาก ทา ธาตุสำหรับต่อท้ายศัพท์แปลว่า “ให้” เช่นในคำว่า อนฺนท, วณฺณท, สุขท, วรท เป็นต้น
  35. นาท : (ปุ.) การบันลือ, การแผดเสียง, ความบันลือ, ความแผดเสียง, เสียง, เสียงร้อง, เสียงบันลือ. วิ. นทนํ นาโท. นทฺ อพฺยตฺสทฺเท, โณ. อภิฯ ลง อ ปัจ. ส. นาท.
  36. ปนูทก : (วิ.) ผู้บรรเทา, ผู้กำจัด, ผู้ขับไล่. ปปุพฺโพ, นุทฺ เปรเณ, ณฺวุ.
  37. ปุรินฺทท : (ปุ.) ปุรินททะ ชื่อขอพระอินทร์ชื่อ ๑ ใน ๒๐ ชื่อ, พระอินทร์. วิ. ปุเร ปุริมํ วา ททาตีติ ปุรินฺทโท. ปุเร ทานํ อททีติ วา ปุรินฺทโท. ปุรปุพฺโพ, ททฺ ทาเน, อ. แปลง อ ที่ ร เป็น อึ เป็น ปุรึ เอานิคคหิตเป็น นฺ
  38. ยาถาว : ค. แน่นอน, แน่แท้, จริง
  39. ยูส : (ปุ.) แกง (จากมิลินทปัญหา), น้ำคั้น, น้ำคั้นจากลูกไม้. ยุสฺ หึสายํ, อ, ทีโฆ. เป็น นปุ. ก็มี.
  40. โสตินฺทริย : นป.โสตินทรีย์, อินทรีย์คือหู
  41. หเว : (อัพ. นิบาต) จริง, แท้, แน่แท้, โดยแท้. เอกัง สัตถวาจา. แล เป็น ปทปูรณะ, เว้ย, โว้ย.
  42. อญฺญตฺถุ อญฺญทตฺถ อญฺญทตฺถุ : (อัพ. นิบาต) แท้, แน่แท้, โดยแท้.
  43. อญฺตฺถุอญฺญทตฺถอญฺญทตฺถุ : (อัพ. นิบาต) แท้, แน่แท้, โดยแท้.
  44. อปณฺณก : (วิ.) ไม่ผิด (ไม่ให้เกิดความเดือดร้อนใจเมื่อปลายมือ), ถูก, ชอบ, แน่แท้, แท้จริง.วิ.วิรุทฺธโวหาเรนนปณาเมตีติอปณฺณโกนปุพฺโพ, ปณฺวฺยวหารตฺถุตีสุ, ณฺวุ.
  45. อว : (อัพ. อุปสรรค)ปราศ (พ้นไป), รู้ (อวคต), ต่ำ, ลง(อวสิร), ใต้, แท้, แน่แท้ (อาธารณ), หมดจด (โวทาน), น้อย, ดูหมิ่น (อวชานน), ที่(โอกาส), ที่ว่าง, ติเตียน, แพร่หลาย, ซึมแทรก, แผ่ซ่าน, เสื่อม, กล่าว, ลัก(อวหาร), ลุ (ถึงสำเร็จ), แผนก, ส่วน.
  46. อวสฺส : (อัพ. นิบาต) แน่แท้, ด้วยแท้, อย่างแน่นอน.
  47. [1-46]

(0.0266 sec)