จรณายุธ : ป. ไก่
จรณายุธ จรณาวุธ : (ปุ.) ไก่ (มีเท้าคือเดือย เป็นอาวุธ)
ตมฺพจูล (ฬ) : ป. ไก่
ตมฺพจูฬ : (ปุ.) ไก่ (สัตว์มีหงอนแดง). วิ. ตมฺพา จูฬา ยสฺส โส ตมฺพจูโฬ.
ตุณฺฑิย :
๑. ค. ดู ตุณฺฑิล๒. ป. ผู้จิก (นก, ไก่)
กกฺกร : ป. ไก่ป่าที่ใช้เป็นไก่ต่อ; กระจก, คันฉ่อง
กกุธ : (ปุ.) ไม้รกฟ้าขาว, ไม้กุ่ม. วิ. กํ วาตํ กุฏติ นิวาเรตีติ กกุโธ. เอกักขรโกสฎีกา. อภิฯ และ เวสฯ เป็น กกฺ ธาตุ อุธ ปัจ. แปลว่า ไม้รังไก่ ก็มี.
กุกฺกุฎี : (อิต.) ไก่ตัวเมีย, แม่ไก่, นางไก่.
กุกฺกุฏ : (ปุ.) ไก่, ไก่ป่า, ไม้รังไก่, ปีระกา. วิ. กุ กุฏตีติ กุกฺกุโฏ. กุปุพฺโพ, กุฏฺ เฉทเน, อ. กุกฺ อาทาเน วา, อุโฏ. กุกติ โคจรํ อาททาตีติ วา กุกฺกุโฏ. ส. กุกฺกุฏ.
กุกฺกุฏฐก, - กุตฺถก : ป. ไก่เถื่อน, ไก่ป่า, นกกวัก
กุกฺกุฏณฺฑ : (นปุ.) ไข่ไก่. กุกฺกุฏ+อณฑ. ไข่ ของสัตว์อื่นดด นักศึกษาพึงประกอบศัพท์ โดยเอาศัพท์นี้เป็นอุ.
กุกฺกุฏสวจฺฉร : (ปุ. นปุ.) ปีระกา, ปีไก่.
กุกฺกุฏี : อิต. แม่ไก่, ไก่ตัวเมีย
กุญฺจการ : ป. การทำเสียงกะต๊าก (ของแม่ไก่)
โกริยา : อิต. แม่ไก่
คณโภชน : (นปุ.) โภชนะเป็นคณะ, การฉันเป็น หมู่. ภิกษุตั้งแต่ ๔ รูปขึ้นไปรับนิมนต์ ออกชื่อโภชนะ คือทายกทายิกา นิมนต์ โดยออกชื่ออาหาร เช่นกล่าวว่า นิมนต์ฉันแกงไก่ แล้วภิกษุไปฉัน เรียกว่าคณะโภชนะ (ฉันเป็นคณะ). โภชนวรรคสิกขาบทที่ ๒ ไตร. ๒/๓๑๓.
จงฺโกร : (ปุ.) ไก่ป่า, ไก่เถื่อน.
จลนี : (ปุ.) เนื้อฉมัน, เนื้อสมัน, ไก่เถื่อน, ลิงลม, บ่าง, เลียงผา, ชนี.
ฉพฺพณฺณรสิ : (อิต.) รัศมีมีสีหก. ฉัพพัณณรังษี. รัศมี ๖ ประการนี้ คือ เขียวเหมือนดอก – อัญชัน เรียกนีละ ๑ เหลืองเหมือน หอ – ระดาล เรียก ปีตะ ๑ แดงเหมือน ตะวัน อ่อน เรียก โลหิตะ ๑ ขาวเหมือนแผ่นเงิน เรียก โอทาตะ ๑ สีหงสบาทเหมือนดอก เซ่งหรือดอกหงอนไก่ เรียกมัญเชฏฐะ ๑ เลื่อมพรายเหมือนแก้วผนึก เรียก ปภัสสร รัศมีทั้ง ๖ นี้ แผ่เป็นวงกลมอยู่ เบื้องหลังพระเศียรของพระพุทธเจ้า. พระ พระอรหันต์ทั้งหลาย แม้พระอัครสาวก ก็ ไม่มีรัศมีทั้ง ๖ นี้.
ชยสุมน : (นปุ.) ชยสุมนะ ชื่อของต้นไม้ที่มี ดอกสีแดง เช่น หงอนไก่ ชบา, ดอกชบา, ดอกชัยพฤกษ์ และดอกคำ, ดอกชัยพฤกษ์ (แปล สุมน ว่า ดอก).
ชิวฺหามูลย : ป. ลิ้นไก่
นข : (ปุ. นปุ.) เล็บ(ทั้งเล็บมือเล็บเท้า),เดือยไก่,วิ.นตฺถิขํอินฺทฺริยํเอตฺถาตินโข(ไม่มีความรู้สึก).ส.นข.
ปกฺขพิลาล : ป. นกเค้าแมว, ค้างความแม่ไก่ (ค้างคาวใหญ่ บางตัวมีช่วงปีกกว้างถึงห้าฟุต)
ปตฺตนาฬี : อิต. ก้านปีก, ก้านขนไก่
ปโตท : ป. ประตัก, เครื่องแทง, ขอสับ (ช้าง) ; เดือย, เดือยไก่
พหุวารก : (ปุ.) มะกอก, มะทราง, มะคำไก่, มะปราง. วิ. ปิจฺฉิลตฺตา พหูนิ วารีนิ ยสฺมึ โส พหุวารโก. แปลง อิ ที่ วาริ เป็น อก สกัด.
ภณฺฑี : (ปุ.) หงอนไก่.
เสตปณฺณิ :
(อิต.) ไม้หมากลิง ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง มีต้นและผลคล้ายหมาก, มะดูก ชื่อต้นไม้ชนิดหนึ่ง ผลขนาดไข่ไก่ กินได้, มะลื่น ต้นกระบก ตระบด ก็เรียก. ดู เสปณฺณิ ด้วย.
เสเรยฺยก : (ปุ.) ต้นหงอนไก่, ต้นสีเสียด. วิ. สิรี วตฺตติ เยน โส เสรยฺยโก. เณยฺโย, สกตฺเถ โก.
เสลุ : (ปุ.) มะกอก, มะซาง, มะคำไก่. สิ พนฺธเน, ลุ. สลฺ คติยํ, อุ, อสฺเส.
อมฺพกมทฺทรี : อิต. แม่ไก่
อุปฺปาตก : (ปุ.) หมัด สัตว์เล็กชนิดหนึ่ง ชอบ อยู่ตามหมาและแมว เป็นต้น, ไร สัตว์เล็ก ชนิดหนึ่งที่ชอบอยู่ที่ขนปีกไก่ เป็นต้น.