ชีวิต : (นปุ.) ความเป็น, ความเป็นอยู่, อายุ, ชีวิต, ชีวัน, ชีวิตินทรีย์. ชีวฺ+ตปัจ.อิอาคม.
นิกฺกาม นิกาม : (วิ.) มีความใคร่ออกแล้ว วิ. นิกฺขนฺโต กาโม ยสฺมา โส นิกฺกาโม. ไม่มี ความใคร่ วิ. นตฺถิ กาโม เอตสฺสาติ นิกฺกาโม. ออกแล้วจากความใคร่ วิ. กาเหมิ นิกฺขนฺโต นิกฺกาโม. ลบ กฺขนฺต แล้วกลับบทหน้าไว้หลัง. ความหมาย อย่างสูง หมายเอาความตั้งใจทำความเพียรเพื่อละกิเลส โดยไม่ห่วงกายและ ชีวิตแบบคนบริโภคกามคุณห่วง.
ชีวิตทาน : นป. การให้ชีวิตเป็นทาน, การสละชีวิตเป็นทาน
ชีวิตนิกนฺติ : อิต. ความห่วงใยในชีวิต
ชีวิตปริยาทาน : นป. การดับของชีวิต, การสิ้นสุดชีวิต
ชีวิตปริโยสาน : (ปุ.) กาลเป็นที่สุดลงรอบแห่ง ชีวิต, การสิ้นสุดชีวิต, ความสิ้นสุดชีวิต.
ชีวิตรูป : ค. ผู้เป็นอยู่, ผู้มีชีวิตอยู่
ชีวิตสีสี ชีวิตสทสีสี : (วิ.) ผู้มีกิเลสศรีษะสิ้น พร้อมด้วยชีวิต, ผู้มีกิเลสอันเป็นประธาน สิ้นไปพร้อมกับการสิ้นชีวิต, ผู้สิ้นกิเลส อันเป็นประธานพร้อมกับสิ้นชีวิต. กิเลส ที่เป็นประธานคืออวิชา. คำว่าสิ้นกิเลส พร้อมกับสิ้นชีวิตนั้นมิได้หมายความว่า เกิดพร้อมกันในวิถีจิตเดียวกัน อรหัตต – มัคคจิตเกิดประหาณ อวิชชาแล้ว ชีวิติน- ทรีย์ เจตสิกละรูปจึงดับ แม้ว่าจะห่างกัน หลายวิถีจิตก็จริง แต่เมื่อว่าโดยเวลาแล้ว ความดับกิเลสและสิ้นชีวิตก็กล่าวได้ว่าดับ ลงพร้อมกัน เพราะวิถีจิตเป็นไปเร็วมาก.
ชีวิตเหตุ : ก. วิ. เหตุแห่งชีวิต, เหตุแห่งความเป็นอยู่, เพื่อความเป็นอยู่
นิชฺชีว : (วิ.) มีชีพออกแล้ว, ไม่มีชีวิต.
นิมิตฺตคาหิ : (วิ.) ถือเอาโดยนิมิต (ได้ทั้ง สิ่งมีชีวิตและไม่มีชีวิต).
อปฺปาณก : ค. ไม่มีลมปราณ, ไม่มีชีวิต
อวิญฺญาณก : (วิ.) มีวิญญาณหามิได้, ไม่มีวิญญาณไม่มีชีวิต, ไม่มีจิตใจ.น+วิญฺญาณกสกัด.
อสปฺปาณกสญฺญี : ค. ผู้มีความสำคัญว่าไม่มีสัตว์มีชีวิต, มีความสำคัญว่าไม่มีตัวสัตว์
จริต, - ตก : นป. จริต, ความประพฤติ, นิสัย; ชีวิต, ความเป็นอยู่
ชีวิตินฺทฺรย ชีวินฺทฺริย : (นปุ.) ความเป็นอยู่, อินทรีย์ คือชีวิต, อายุ, ชีวิต, ชีวิตินทรีย์ ได้แก่ เจตสิกที่เป็นใหญ่ในการรักษานาม ธรรม.
ทุชฺชีวิต : (นปุ.) ความเป็นอยู่ยาก,ความเป็นอยู่ลำบาก,ชีวิตยากแค้น.
นิ : (อัพ. อุปสรรค) เข้า,ลง,ออก,ไม่เหลือ,ไม่มี,ทิ้ง,วาง,บน,ยิ่ง,พ้น,ประชุม,รวม,กอง,อยู่,อ้าง,เปรียบ,ใส,ต่ำ,ต่ำช้า,เลว,ติเตียน,ฉลาด,หลักแหลม.ส.นิรฺ.
ปาณ : ป. สัตว์, ชีวิต, ลมหายใจ, ปราณ
วิ : อ. วิเศษ, แจ้ง, ต่าง, ไม่มี
อนุชีวิต : นป. ความมีชีวิตอยู่
อภูต : ๑. นป. ความเป็นของไม่จริง, ความโกหกหลอกลวง;
๒. ค. ไม่เป็น, ไม่มี, ไม่จริง
อสมนฺนาคต : ค. ไม่ประกอบ, ไม่มี
อาปาณ : นป. การหายใจเข้าออก, ลมหายใจเข้าออก, ชีวิต
อายุ : (ปุ. นปุ.) ธรรมชาติเป็นเครื่องเจริญแห่งสัมปยุตธรรม, ความเป็นไป, ชีวิต, ชิวิติน-ทรีย์, ชนมพรรษา, ชันษา, อายุ(เวลาที่ดำรงชีวิตอยู่เวลาชั่วชีวิตของสิ่งนั้นๆ).วิ.เอนฺติสตฺตาเอเตนาติอายุ.อิคติยํ, ณุ.อถวา, อาปุพฺโพ, ยุมิสฺสนคตีสุ, อ. รูปฯ๖๓๕.ส. อายุษฺอายุสฺ.
อายุสงฺขาร : ป. อายุสังขาร, ปัจจัยปรุงแต่งอายุ, ชีวิต
อายูหา : อิต. อายุ, ชีวิต, อายุกาล
ปฏิสญฺชีวิต : กิต. กลับคืนชีพแล้ว, ฟื้นแล้ว
นิคนฺธ นิคฺคนฺธ : (วิ.) มีกลิ่นออกแล้ว, ไม่มี กลิ่น.
นิทฺทุกข : (วิ.) มีทุกข์ออกแล้ว นิกฺขนฺต+ทฺข, ออกแล้วจากทุกข์ ทุกฺข+นิกฺขนฺต ลบ กฺขนฺต แล้วกลับบท เอาไปไว้หน้า, ไม่มี ทุกข์, ปราศจากทุกข์, นิรทุกข์.
นิปจฺจย : (วิ.) มีบุคคลเป็นแดนอาศัยเป็นไป หามิได้, ไม่มีบุคคลเป็นปัจจัย, ไม่มี บุคคลเป็นที่พึ่ง.
นิพฺเพมติก : (วิ.) มีความสงสัยออกแล้ว, ไม่มี ความสงสัย, สิ้นความสงสัย, สิ้นสงสัย, หมดสงสัย.
นิมฺมกฺขิก : (วิ.) มีตัวอ่อนออกแล้ว, ไม่มี ตัวอ่อน.
นิรามย : (วิ.) มีความเจ็บไข้ออกแล้ว, มีความป่วยไข้ออกแล้ว, ไม่มีความเจ็บไข้, ไม่มี ความป่วยไข้, ไม่มีโรค, ปราศจากโรค, มีพลานามัยสมบูรณ์, สบาย, เป็นสุข. นิ+อามย รฺ อาคม. ส. นิรามย.
นิรุปทฺทว : (วิ.) มีอันตรายออกแล้ว, ไม่มี อันตราย, ฯลฯ.
เอกก : (วิ.) ผู้เดียว, ผู้ผู้เดียว, วังเวง, ไม่มี เพื่อน, ตัวคนเดียว, ก ปัจ. ลงในอรรถว่า ไม่มีเพื่อน อสหายตฺเถ กปจฺจโย. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๓๕.
ติณปาทป : (ปุ.) ต้นไม้จำพวกติณชาต ( ไม่มี แก่น ) คือ นาลิเกร ตาฬี เกตกี ขชฺชุรึ ปูคหินตาล.
ถิติ : (อิต.) อันตั้งอยู่, ความตั้งอยู่, ฯลฯ, ชีวิต. ถา+ติ ปัจ. เอา อา เป็น อิ.
นตฺถิก : (วิ.) ไม่มี. นตฺถิ+ ก สกัด.
นตฺถิกทิฏฺธิ : (อิต.) ความเห็นว่าบุญและบาป ไม่มี วิ. นตฺถิกํ ปุญฺญปาปํ อิติ ทิฏฺฐ นตฺถิกทิฏฺฐ. นัตถิกทิฏฐิ เป็นมิจฉาทิฏฐิอย่างหนึ่ง มีความเห็นปฏิเสธความดีหรือความชั่วที่คนทำแล้วว่าไม่มีผลแก่ผู้ทำ.
ปญฺจมหาปริจฺจาค : ป. การเสียสละอย่างใหญ่ห้า (สมบัติ, ลูก, เมีย, อวัยวะ, ชีวิต)
อุร : (ปุ. นปุ.) อก, ทรวง (อก), ทรวงอก (ใช้ในคำกลอน), ชีวิต. อรฺ คมเน, อ, อสฺสุกาโร (แปลง อ อักษรเป็น อุ อักษร). โมคฯ ตั้ง อุสฺ ทาเห. ร ปัจ. ลบ สฺ อธิบายว่า อันความโศกเผาอยู่. บาลีไวยา- กรณ์เป็น ปุ. ส. อุรศฺ อุรสฺ.
อาปาณอาปาน : (นปุ.) ลมหายใจออก, ชีวิต.อปบทหน้าอนฺ ธาตุในความหายใจอปัจทีฆะอุปสรรคศัพท์ต้นแปลงนเป็นณ.
กฏุกผล : (นปุ.) ดีปลี. ส. กฏุชีวา.
กมฺมหีน : ค. ผู้ว่างงาน, ผู้ไม่มีการงานทำ
กวนฺธ : ป., นป. ร่างที่ไม่มีหัว, ผีหัวขาด
กวนฺธ กพนฺธ : (ปุ.) ร่างไม่มีศรีษะ, ผีไม่มี ศรีษะ, ผีหัวขาด. วิ. อวิชฺชมาเนน เกน สิรสา อนฺโธ กวนฺโธ. ก+อนฺธ วฺ อาคม ในท่ามกลาง.
กากสูร : ๑. ป. กาตัวกล้า, ความกล้าของกา;
๒. ค. ผู้กล้าเหมือนอย่างกา, ผู้ฉลาดเหมือนอย่างกา, ผู้ไม่มียางอาย
กาจี : ค. ใช้ในรูปปฏิเสธอย่างเดียวเป็น อกาจี = ไม่มีโทษ, ไม่มีที่ติ
กาพฺย : (นปุ.) คำของกวี, กาพย์ ชื่อของคำ ร้อยกรองทั่วไป. กาพย์ ไทยใช้เป็นชื่อของ คำร้อยกรองชนิดหนึ่งคล้ายฉันท์ แต่ไม่มี บังคับ ครุ ลหุ เช่นกาพย์สุรางคนางค์ เป็นต้น. กุ สทฺเท, โณฺย. พฤทธิ์ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อาว ลบ อ ที่ ว เหลือ เป็น วฺ แล้วลบ ณฺ ของ ปัจ. ส. กาวฺย กาพฺย.