นิ : (อัพ. อุปสรรค) เข้า,ลง,ออก,ไม่เหลือ,ไม่มี,ทิ้ง,วาง,บน,ยิ่ง,พ้น,ประชุม,รวม,กอง,อยู่,อ้าง,เปรียบ,ใส,ต่ำ,ต่ำช้า,เลว,ติเตียน,ฉลาด,หลักแหลม.ส.นิรฺ.
วิ : อ. วิเศษ, แจ้ง, ต่าง, ไม่มี
อภูต : ๑. นป. ความเป็นของไม่จริง, ความโกหกหลอกลวง;
๒. ค. ไม่เป็น, ไม่มี, ไม่จริง
อสมนฺนาคต : ค. ไม่ประกอบ, ไม่มี
นิคนฺธ นิคฺคนฺธ : (วิ.) มีกลิ่นออกแล้ว, ไม่มี กลิ่น.
นิทฺทุกข : (วิ.) มีทุกข์ออกแล้ว นิกฺขนฺต+ทฺข, ออกแล้วจากทุกข์ ทุกฺข+นิกฺขนฺต ลบ กฺขนฺต แล้วกลับบท เอาไปไว้หน้า, ไม่มี ทุกข์, ปราศจากทุกข์, นิรทุกข์.
นิปจฺจย : (วิ.) มีบุคคลเป็นแดนอาศัยเป็นไป หามิได้, ไม่มีบุคคลเป็นปัจจัย, ไม่มี บุคคลเป็นที่พึ่ง.
นิพฺเพมติก : (วิ.) มีความสงสัยออกแล้ว, ไม่มี ความสงสัย, สิ้นความสงสัย, สิ้นสงสัย, หมดสงสัย.
นิมฺมกฺขิก : (วิ.) มีตัวอ่อนออกแล้ว, ไม่มี ตัวอ่อน.
นิรามย : (วิ.) มีความเจ็บไข้ออกแล้ว, มีความป่วยไข้ออกแล้ว, ไม่มีความเจ็บไข้, ไม่มี ความป่วยไข้, ไม่มีโรค, ปราศจากโรค, มีพลานามัยสมบูรณ์, สบาย, เป็นสุข. นิ+อามย รฺ อาคม. ส. นิรามย.
นิรุปทฺทว : (วิ.) มีอันตรายออกแล้ว, ไม่มี อันตราย, ฯลฯ.
เอกก : (วิ.) ผู้เดียว, ผู้ผู้เดียว, วังเวง, ไม่มี เพื่อน, ตัวคนเดียว, ก ปัจ. ลงในอรรถว่า ไม่มีเพื่อน อสหายตฺเถ กปจฺจโย. โมคฯ ณาทิกัณฑ์ ๓๕.
ติณปาทป : (ปุ.) ต้นไม้จำพวกติณชาต ( ไม่มี แก่น ) คือ นาลิเกร ตาฬี เกตกี ขชฺชุรึ ปูคหินตาล.
นตฺถิกทิฏฺธิ : (อิต.) ความเห็นว่าบุญและบาป ไม่มี วิ. นตฺถิกํ ปุญฺญปาปํ อิติ ทิฏฺฐ นตฺถิกทิฏฺฐ. นัตถิกทิฏฐิ เป็นมิจฉาทิฏฐิอย่างหนึ่ง มีความเห็นปฏิเสธความดีหรือความชั่วที่คนทำแล้วว่าไม่มีผลแก่ผู้ทำ.
นิกฺกาม นิกาม : (วิ.) มีความใคร่ออกแล้ว วิ. นิกฺขนฺโต กาโม ยสฺมา โส นิกฺกาโม. ไม่มี ความใคร่ วิ. นตฺถิ กาโม เอตสฺสาติ นิกฺกาโม. ออกแล้วจากความใคร่ วิ. กาเหมิ นิกฺขนฺโต นิกฺกาโม. ลบ กฺขนฺต แล้วกลับบทหน้าไว้หลัง. ความหมาย อย่างสูง หมายเอาความตั้งใจทำความเพียรเพื่อละกิเลส โดยไม่ห่วงกายและ ชีวิตแบบคนบริโภคกามคุณห่วง.
นตฺถิก : (วิ.) ไม่มี. นตฺถิ+ ก สกัด.
นตฺถิ : ก. ไม่มี, ไม่อยู่
กมฺมหีน : ค. ผู้ว่างงาน, ผู้ไม่มีการงานทำ
กวนฺธ : ป., นป. ร่างที่ไม่มีหัว, ผีหัวขาด
กวนฺธ กพนฺธ : (ปุ.) ร่างไม่มีศรีษะ, ผีไม่มี ศรีษะ, ผีหัวขาด. วิ. อวิชฺชมาเนน เกน สิรสา อนฺโธ กวนฺโธ. ก+อนฺธ วฺ อาคม ในท่ามกลาง.
กากสูร : ๑. ป. กาตัวกล้า, ความกล้าของกา;
๒. ค. ผู้กล้าเหมือนอย่างกา, ผู้ฉลาดเหมือนอย่างกา, ผู้ไม่มียางอาย
กาจี : ค. ใช้ในรูปปฏิเสธอย่างเดียวเป็น อกาจี = ไม่มีโทษ, ไม่มีที่ติ
กาพฺย : (นปุ.) คำของกวี, กาพย์ ชื่อของคำ ร้อยกรองทั่วไป. กาพย์ ไทยใช้เป็นชื่อของ คำร้อยกรองชนิดหนึ่งคล้ายฉันท์ แต่ไม่มี บังคับ ครุ ลหุ เช่นกาพย์สุรางคนางค์ เป็นต้น. กุ สทฺเท, โณฺย. พฤทธิ์ อุ เป็น โอ แปลง โอ เป็น อาว ลบ อ ที่ ว เหลือ เป็น วฺ แล้วลบ ณฺ ของ ปัจ. ส. กาวฺย กาพฺย.
กามนิกฺกาม : ค. ผู้ไม่มีความใคร่ในกาม, ผู้เบื่อกาม
กามากาม : ค. ไม่มีความปรารถนาทางกาม
กิริยาจิตฺต : นป. จิตที่เป็นเพียงกิริยาคือไม่จัดลงไปแน่นอนว่า ดีหรือชั่ว, จิตที่ไม่มีผล
กิเลสพนฺธนาภาว : (ปุ.) ความไม่มีแห่งวัตถุ เป็นเครื่องผูกคือกิเลส, ความไม่มีแห่ง เครื่องผูกคือ กิเลส.
กุกฺกุล : (ปุ.) เถ้าร้อน, ถ่านร้อน, เถ้าสุม, เท่ารึง, เถ้ารึง เท่า เถ้าใช้ได้ทั้งสองคำ เถ้ารึงคือ เถ้าที่ไม่มีถ่านไฟ แต่ยังมีความร้อนอยู่. กุกฺกุ หตฺถํ ลุนาตีติ กุกฺกุโล. กุกฺกุปุพฺโพ, ลุ เฉทเน, อ, อุโลโป.
กุสล : (วิ.) มีฝีมือ, ฉลาด, ชำนาญ, คล่อง, คล่องแคล่ว, มั่งคั่ง, งาม, ดี. เหมาะ, ควร, สมควร, ถูก (ไม่ผิด), ถูกต้อง, ไม่มีโทษ, ไม่มีโรค, สบาย. ส. กุศล.
โกลาป : ค., นป. กลวง, แห้ง, ไม่มียาง; ไม้ตายยืนต้น, ไม้กลวง, ไม้เป็นโพรง
คิห : นป. บ้าน, เรือน, ใช้ในคำว่า อคิห ค. = ผู้ไม่มีเรือน (บรรพชิต)
คุนฺทา : (อิต.) กะเม็ง, ต้นกะเม็ง, หญ้ากะเม็ง ชื่อของต้นหญ้าเล็กๆ ไม่มีแก่น ขึ้นตามที่ ชื้นแฉะ ใบเขียว มีขนคาย ดอกขาว ใช้ ทำยาเด็กเป็นต้น, หญ้าปากกา. คุ สทฺเท, โท, นิคฺคหิตาคโม.
จาปลสุณน : ป. กระเทียมชนิดหนึ่งซึ่งไม่มีเยื่อ
จุณฺณวิจุณฺณ : (วิ.) แหลกเหลว, ไม่เป็นชิ้นเป็น อัน, ละเอียด, ป่นปี้, ย่อยยับ, เป็น จุณวิจุณ (ละเอียดไม่มีชิ้นดี).
จุติจิตฺต : (นปุ.) จิตอันเคลื่อนจากภพที่เกิด, จุติจิต เป็นชื่อของจิตดวงที่เคลื่อนจากภพ ที่เกิด แล้วเป็นปฏิสนธิจิตทันที ไม่มีจิต อื่นคั่น จะเกิดเป็นอะไรนั้น ก็แล้วแต่กรรม ที่ทำไว้.
ฉพฺพณฺณรสิ : (อิต.) รัศมีมีสีหก. ฉัพพัณณรังษี. รัศมี ๖ ประการนี้ คือ เขียวเหมือนดอก – อัญชัน เรียกนีละ ๑ เหลืองเหมือน หอ – ระดาล เรียก ปีตะ ๑ แดงเหมือน ตะวัน อ่อน เรียก โลหิตะ ๑ ขาวเหมือนแผ่นเงิน เรียก โอทาตะ ๑ สีหงสบาทเหมือนดอก เซ่งหรือดอกหงอนไก่ เรียกมัญเชฏฐะ ๑ เลื่อมพรายเหมือนแก้วผนึก เรียก ปภัสสร รัศมีทั้ง ๖ นี้ แผ่เป็นวงกลมอยู่ เบื้องหลังพระเศียรของพระพุทธเจ้า. พระ พระอรหันต์ทั้งหลาย แม้พระอัครสาวก ก็ ไม่มีรัศมีทั้ง ๖ นี้.
ฉาตกภย : (นปุ.) ภัยคือความหิว วิ. ฉาตโก เอว ภยํ ฉาตกภยํ. ภัยอันเกิดจากความหิว วิ. ฉาตกมฺหา ชาตํ ภยํ ฉาตกภยํ. ไทยใช้ ฉาตกภัยในความหมายว่า ภัยอันเกิดจาก ไม่มีอาหารการกิน ข้าวยากหมากแพง ภัย อันเกิดจากความแห้งแล้ง.
ฉายา : (อิต.) เค้า คือสิ่งที่เป็นเครื่องกำหนด หมายให้รู้ สิ่งที่ส่อแสดงให้รู้ว่ามีลักษณะ เหมือนสิ่งอื่น, ความไม่มีแดด, เงา, ร่ม (บริเวณที่ไม่ถูกแดดไม่ถูกฝน), รูป, รูป เปรียบ, แสงสว่าง, ฉายา คือ ชื่อที่พระ – อุปัชฌายะตั้งให้เป็นภาษามคธเมื่ออุปสม – บท. วิ. เฉติ สํสยนฺติ ฉายา. ฉา เฉทเน, โย. ฉินฺทติ ปริสฺสมนฺติ วา ฉายา. ไทยใช้ เรียกชื่อภาษาไทยที่ตั้งกันเล่นๆตามลักษ – ณะที่หมายรู้กันในหมู่คณะ เช่น เปี๊ยก ว่ามี ฉายาว่า นายเปี๊ยก นอกจากนี้ยังหมายถึง นางผู้โฉมงามหรือเมียอีกด้วย.
ฉินฺนกณฺณ : ค. ผู้มีหูขาด, ผู้มีหูแหว่ง, ผู้ไม่มีใบหู
ฉินฺนคนฺถ : ค. ผู้ไม่มีเครื่องผูกมัด, ผู้ไม่มีเครื่องร้อยรัด
ฉินฺนปิโลติก : ค. ผู้มีผ้าขาดหรือไม่มีผ้า
ฉินฺนภตฺต : ค. ผู้ไม่มีอาหาร, ผู้ขาดอาหาร, ผู้อดอาหาร
ชวจฺฉินฺน : ค. ผู้มีเชาวน์อันขาดแล้ว, ผู้ไม่มีความว่องไว, ผู้ขาดความว่องไว
ญาณจริยา : (อิต.) ความประพฤติเพื่อความรู้. ความประพฤติเพื่อความรู้ชื่อว่าญาณจริยา เพราะอรรถว่า ประพฤติไม่มีราคะไม่มี โทสะและไม่มีโมหะ.
ตทงฺคนิพพาน : (นปุ.) ความดับด้วยองค์นั้น ๆ โดยฌานมีปฐมฌานเป็นต้น อัฏฐกถาให้ วิ. ว่า ปฐมฌานาทินา เตน เตน องฺเคน นิพพานํ ตทงฺคนิพพานํ. ตทงฺคนิพพาน ศัพท์นี้มีในไตร. ๒๓ ข้อที่ ๕0 สูตรที่ ๙ แห่งปญจาลวรรค. ไม่ควรแปลว่า นิพพาน ชั่วขณะ ดังที่อาจารย์บางท่านแปล ควร แปลว่า ความดับด้วยองค์นั้น ๆ โดยฌาน มี ปฐมฌาน เป็นต้น ตามที่อัฏฐกถาจารย์ ตั้ง วิ. ไว้ เพราะว่า “นิพพาน” นับเป็น ๑ ในโลกุตตรธรรม ๙ ไตร. ๓๑ ข้อ ๖๒0 และชาวพุทธฝ่ายเถรวาท ใช้คำ นิพพาน เป็นชื่อของจิตที่ดับกิเลสเป็นสมุจเฉทป – หานด้วยอริยมรรคที่ ๔ เป็นอกุปปา – วิมุตติอย่างเดียว เพราะฉะนั้น นิพพาน ชั่วขณะจึงไม่มี ขอฝากนักปราชญ์รุ่นหลัง ผู้หวงแหนพระพุทธศาสนาด้วย.
ตนฺตุวาย : (ปุ.) ฟืม (เครื่องสำหรับทอผ้ามีฟัน เป็นซี่ ๆ คล้ายหวี) แมงมุม (สัตว์ไม่มีกระ ดูกสันหลังมร ๘ ขา ที่ก้นมีใยสำหรับชัก ขึงเป็นข่ายดักสัตว์)
ตุจฺฉ : (วิ.) เปล่า ( ไม่มีอะไร ว่าง), ว่าง, ว่าง เปล่า, หาแก่นมิได้, เท็จ. ตุจฺ วินาเส, ตุทฺ พฺยถเน วา, โฉ. ธาตุหลัง แปลง ทฺ เป็น จฺ. ส. ตุจฺฉ.
ตุณฺหิกฺขก : ค. นิ่ง, เงียบ, ไม่มีเสียง, ดุษณี
ตุริยตาฬิตวาทิตนิคฺโฆสสทฺท : (ปุ.) เสียง กึกก้องโดยความไม่มีส่วนเหลือแห่ง ดนตรีอันบุคคลประโคมแล้วและเสียง กึกก้องโดยความไม่มีส่วนเหลือแห่ง ดนตรีอันบุคคลบรรเลงแล้ว. เป็น อ. ทวัน. มี ต.ตัป.วิเสสนบุพ.กัม.วิเสสนุต.กัม.ฉ.ตัป. วิเสสนบุพ.กัม. และ ฉ.ตัป. เป็นท้อง.
ทารุ : (นปุ.) ไม้, เปลือกไม้, ท่อนไม้, ชิ้นไม้, ไม้แห้ง, ฟืน. วิ. ทรียตีติ ทารุ. ทรียนฺเต เอเตหีติ วา ทารุ. วิ. หลังนี้ จากโมคฯ. ทรฺ วิทารเณ, ณุ. ทารุ. ที่มาคู่กับไม้ไม่มีแก่น แปล ทารุ ว่าไม้จริง (ไม้มีแก่น). ส. ทารุ