กฏจฺฉุภิกฺขามตฺตทาน : (นปุ.) การให้ซึ่งวัตถุ มีภิกษาทัพพีหนึ่งเป็นประมาณ. เป็น ทุ ตัป. มี วิเสสนบุพ. กับ., ฉ. ตุล. และ วิเสสนปุพ. กัม. เป็นท้อง. คำว่าหนึ่งเป็น คำเหน็บเข้ามา ไม่ใช่เอก ศัพท์.
ญาติสาโลหิต : (ปุ.) พี่น้องผู้เกี่ยวเนื่องกันด้วย เลือด, พี่น้องผู้เกี่ยวเนื่องกันด้วยสายเลือด, พี่น้องผู้ร่วมสายเลือด, ญาติสาโลหิต, ญาติสายโลหิต ( ญาติที่ลืมสกุลมาโดยตรง ญาติสายโลหิตเดียวกัน ). คำ ญาติ ทาง ศาสนาหมายถึงคนที่ไม่ใช่สายเลือดเดียว กัน ก็ได้ ดังบาลีว่า วิสฺสาสาปรมา ญาติ ความคุ้นเคยชื่อว่าเป็นญาติอย่างยิ่ง. (ญาติ สนิท).
ตาต : (อาลปนะ) ใช้เป็นคำเรียก แปลว่า พ่อ ( ไม่ใช่พ่อผู้ให้กำเนิดลูก ) เป็นคำสุภาพ ใช้เรียกได้ทั่วไป เอก. เป็น ตาต พหุ เป็น ตาตา.
นปุสกลิงฺค : (นปุ.) เพศบัณเฑาะก์, เพศ กะเทย, นปุงสกลิงค์ (ไม่ใช่เพศหญิงไม่ ใช่เพศชาย ไม่มีเพศ).
นิปฺปุริส : ค. ไม่มีบุรุษ, ไม่ใช่บุรุษ
นิสฺสตฺต : ค. ไม่มีวิญญาณ, ไม่ใช่สัตว์
ปมทวน : (นปุ.) สวนนางข้างใน ( สวนหลวง ทรงให้สร้างขึ้นเพื่อนางข้างใน ไม่ใช่เป็น ที่เที่ยวของชนอื่น ) วิ. ปมทานํ วนํ ปมทาวนํ. รัสสะ อา ที่ ทา เป็น อ.
พุทฺธาภิเสก : (ปุ.) การได้บรรลุเป็นพระพุทธเจ้า, พุทธาภิเษก. พุทธาภิเษกไทยใช้เป็นชื่อของพิธีกรรม มีพระสงฆ์สวดสรรเสริญคุณ มีพระอาจารย์นั่งปรกในการหล่อ พิมพ์ พระพุทธรูป หรือ รูปเปรียบ รูปเหมือน หรือวัตถุต่างๆ หรือเมื่อหล่อหรือพิมพ์แล้ว เพื่อบรรจุพลังจิตลงไปในรูปหรือวัตถุนั้นๆ ไม่ใช่ปลุกพระพุทธเจ้าดังที่บางท่านเข้าใจ เพราะพระพุทธเจ้าทรงเป็นพุทธะแล้ว.
สวฺหย : (วิ.) เป็นไปด้วยชื่อ (ไม่ใช่คนหลักลอย ไม่ใช่คนเถื่อน). วิ. สห อวฺหเยน วตฺตตีติ สวฺหโย.
หล หฬ : (ปุ.) คนพาล คือคนอ่อน อายุยังน้อยอยู่ ไม่ใช่คนเกเร, เด็ก. วิ. โหเลติ ภูมึ ภินฺทนฺโต มตฺติกภณฺฑํ จาเลตีติ หโล หโฬ วา. หฺลฺ หฬฺ วา วิเลขเน, อ. หุลฺ กมฺปเน วา. แปลง อุ เป็น อ.
อ. : อ.ไม่. มาจาก น ศัพท์
ใช้หน้านามที่อักษรตัวต้นเป็นพยัญชนะต้องเปลี่ยนเป็น อ – เช่น อมนุสฺโส (น+มนุสฺโส) = ไม่ใช่มนุษย์ อปุตฺตโก (น+ปุตฺตโก)= ผู้ไม่มีบุตร
ใช้หน้านามที่อักษรตัวต้นเป็นสระ ต้องเปลี่ยนเป็น อน – เช่น อนริโย (น+อริโย) = ไม่ใช่พระอริยะ
ใช้หน้ากริยากิตก์ เช่น อกตฺวา (น+กตฺวา) = ไม่กระทำแล้ว อกรณีโย (น+กรณีโย) = ไม่พึงกระทำ
อกปฺปิย : (วิ.) อันไม่สมควร, ไม่ใช่ของควร, ไม่ควร, ไม่สมควร, ไม่เหมาะ
อการณ : (วิ.) มิใช่เหตุ, ไม่ใช่เหตุ.
อกาล : (วิ.) มิใช่กาล, มิใช่ฤดูกาล, ไม่ใช่กาล.
อกิตฺติ : (อิต.) วาจาไม่ใช่วาจาเครื่องสรรเสริญ, วาจาเป็นปฎิปักษ์แก่วาจาสรรเสริญ, การนินทา, การติเตียน, ความนินทา, ความติเตียน, ความไม่มีมีเกียรติ, ความเสื่อมเกียรติ.
อจริม : (วิ.) ไม่หลัง, ไม่ใช่สิ่งสุดท้าย.
อญฺญาตก : ค. ซึ่งไม่ใช่ญาติ, ซึ่งไม่มีใครรู้จัก
อติเรกจีวร : (นปุ.) ผ้าเกิน, อติเรกจีวรคือผ้าที่ยังไม่ได้อธิฐานยังไม่ได้วิกัป. ไตร๒/๔ผ้าที่ได้มาใหม่ยังไม่ได้พินทุอธิฐานและวิกัปผ้าอันไม่ใช่ของอธิฐานและไม่ใช่ของวิกัปผ้านอกจากไตรจีวร มีขนาดตั้งแต่๔x๘ นิ้ว และไม่ใช่ของวิกัป.
อธุร : นป. ไม่ใช่ธุระ, ไม่ใช่ภาระหน้าที่
อนญฺญ : (วิ.) มิใช่อื่น, ไม่ใช่อื่น.
อนยพฺยสน : (นปุ.) ความฉิบหายไม่ใช่ความเจริญและทุกข์อันส่ายเสียซึ่งสุขให้พินาศ, ความไม่เจริญและความทุกข์อันยังสุขให้พินาศ. วิ. อนโย จ พฺยสนํ จาติ อนยพฺสนํ.
อนายตน : นป. ที่อันไม่สมควร, ที่อันไม่ใช่บ่อเกิด
อนาริย : ค. ไม่ใช่อารยะ, เลว
อนิตฺถิ : อิต. หญิงที่ขาดคุณลักษณะของผู้หญิง, ไม่ใช่หญิง
อนีติ : (วิ.) ไม่มีจัญไร, มิใช่จัญไร, ไม่จัญไร, ไม่ใช่จัญไร.
อนุชุ : (วิ.) ไม่มีความตรง, มิใช่ตรง, ไม่ใช่ตรง, คด, โค้ง, โกง, งอ, บิด, ชั่ว.วิ.นตฺถิ อุชุตายสฺส โสอนุชุ.
อนุโปสถิก : ค. ไม่ใช่วันอุโบสถ
อปถ : (วิ.) มิใช่ทาง, ไม่ใช่ทาง.
อปุจฺฉ : ค. ไม่ใช่ปัญหา, ไม่น่าถาม
อเผคฺคุก : ค. ไม่ใช่กระพี้, ไม่อ่อนแอ, แข็งแรง
อภูมิ : อิต. ที่อันไม่สมควร, ไม่ใช่ภาคพื้น
อเภสชฺช : ค. ไม่ใช่เภสัช, ไม่ใช่ยา
อมจฺจุเธยฺย : นป., ค. ไม่ใช่บ่วงของมาร, ไม่ใช่เขตของความตาย
อมาตุคาม : ค. ไม่ใช่มาตุคาม, ไม่ใช่หญิงชาวบ้าน
อมานุส, อมานุสิก : ค. ไม่ใช่มนุษย์
อมามก : ค. ไม่ใช่ของเรา, ไม่เป็นของเรา
อมิตฺต : (วิ.) มิใช่มิตร, ไม่ใช่มิตร.ส. อมิตฺร.
อยาน : ๑. นป. การไม่ไป ;
๒. ค. ไม่ใช่ยาน
อรูป : (วิ.) มีรูปหามิได้, ไม่มีรูป, ไม่ใช่รูป.
อรูปิย : ค. ไม่ใช่รูปิยะ, ไม่ใช่เงินทอง
อลสุณ : ค. ไม่ใช่กระเทียม
อวจน : นป. ไม่ใช่ถ้อยคำ, ไม่ใช่คำกล่าว, วาจาที่ผิด
อวสฺสน : นป. ไม่ใช่เสียงร้อง, (ของแกะ)
อวิคฺคห : (วิ.) มิใช่วิเคราะห์, ไม่ใช่วิเคราะห์.
อวินย : ป. ไม่ใช่วินัย, ความประพฤติผิด
อวิส : ค. ไม่ใช่ยาพิษ, ไม่มียาพิษ, ไม่เป็นพิษ
อวิสย : ค. ไม่อยู่ในวิสัย, ไม่อยู่ในขอบเขต, ไม่ใช่วิสัย
อเวลา : อิต. เวลาอันไม่สมควร, ไม่ใช่เวลา
อสกฺย : ค. ไม่ใช่ชาวศากยะ
อสกฺยธีตา : อิต. ไม่ใช่ธิดาของศากยะ