ปตฺติยายติ : ก. ประพฤติเพียงดังว่าเชื่อ, เชื่อถือ, ไว้ใจ
วิสฺสสติ : ก. คุ้นเคย, ไว้ใจ
อพฺภนฺตริก : ค. สนิทสนม, ไว้ใจ, เชื่อใจ
โอกปฺปติ : ก. จัดแจง; ทำให้สำเร็จ; ไว้ใจ
วจ : ป., นป. คำพูด, การกล่าว
นิกฺกงฺข : ค. ไม่มีความสงสัย, หมดความสงสัย, ไว้ใจได้
นิพฺพิจิกิจฺฉา : อิต. ความแน่ใจ, ความไว้ใจ, การหมดข้อสงสัย
นิสฺสารชฺช : ค. ไม่ถ่อมตัว, ไว้ใจตนเอง
ปตฺติย : ค., ป. ซึ่งควรถึง, พึงบรรลุ; ซึ่งควรเชื่อถือ, น่าไว้ใจ; ความเชื่อถือ, ความไว้ใจ
ปตฺติยายน : นป. ความเชื่อถือ, ความไว้ใจ
วิสฺสาสนีย : ค. ควรไว้ใจ
สจฺจสนฺธ : ค. ไว้ใจได้
อคฺคหิตตฺต : (นปุ.) ความที่แห่งบุคคล เป็นผู้มีจิตอันใคร ๆ เชื่อไม่ได้, ความที่แห่งจิต เป็นจิตอันใคร ๆ ไว้ใจไม่ได้.
อวิสฺสตฺถ : ค. ไม่คุ้นเคย, ไม่น่าไว้ใจ ; ไม่พอใจ
โอกปฺปนิย : ค. ควรไว้ใจ, เหมาะ
วจี : อิต. คำพูด, ถ้อยคำ, คำกล่าว
วีจิ : อิต. คลื่น, ลูกคลื่น
ทุวจ : (วิ.) ผู้อัน...ว่าได้โดยยาก (ว่ายากสอน ยาก). ทุกฺข+วจฺ ธาตุ อ ปัจ. ประจำหมวดธาตุ ข ปัจ. ลบ กฺข. ผู้มีวาจาอันโทษประทุษร้ายแล้ว ทุฏฺฐ+วจ. ผู้มีถ้อยคำชั่ว ผู้มีถ้อยคำหยาบ ทุ + วจ หรือ ทุฏฺฐ+วจ.
จกฺกวฺห จกฺกวาก : (ปุ.) นกจักพราก, นกจาก พราก, ห่านแดง. วิ. จกฺก มิจฺจโวฺห ยสฺส โส จกฺกโวฺห. ศัพท์หลัง จกฺกบทหน้า วจฺ ธาตุในความกล่าว ณ ปัจ. ทีฆะ แปลง จ เป็น ก. แปลว่า ห่าน ก็มี.
นิรุตฺต : (นปุ.) ภาษา, คำพูด. นิจฺฉย หรือ นิสฺเสส บทหน้า วจฺ ธาตุ ต ปัจ. ลบ จฺ แปลง ว เป็น อุ แปลง ต เป็น ตฺต รฺ อาคม. รูปฯ ๖๑๓.
สพฺพจ : (วิ.) อัน...พึงรู้ตามได้โดยง่าย, ผู้อัน...พึงว่าได้โดยง่าย, ผู้อัน...พึงสอนได้โดยง่าย. วิ. สุเขน วจิตพพฺโพติ สุพฺพโจ. สุข ปุพฺโพ, วจฺ วิยตฺติยํ วาจายํ, โข, วสฺสโพ, พสํโยโค.
โหรา : (อิต.) วิชากล่าวด้วยเหตุในเบื้องหน้าและเหตุในอดีต วิ. หุรํ การเณน จ อดีตการเณน จ วจตีติ โหรา. ณ ปัจ. ราคาทิตัท.
อิสฺสา : (อิต.) ความเกียดกัน, ความชิงชัง, ความหึงหวง, ความริษยา (นิสัยที่เห็นเขา ได้ดีแล้วทนอยู่ไม่ได้ คิดตัดรอนเขา คิด ทำลายเขา). วิ. อิสฺสติ สตฺเตสุปิ คุเณสุ วจสา มนสา วา โทสาโรปนํ กโรตีติ อิสฺสา. อิสฺส อิสฺสายํ, อ. อิสฺ อิสฺสายํ วา, โส. ไทยนำคำ อิจฉา ซึ่งแปลว่าความหวัง เป็นต้น มาใช้ในความหมายว่าริษยา ดังคำ ว่า อิจฉาตาร้อน. ส. อีรฺษยา.
อุตฺติ : (อิต.) ถ้อยคำ. วิ. วุจฺจเตติ อุตฺติ. วจฺ ธาตุ ติ ปัจ. แปลง ว เป็น อุ จฺ เป็น ตฺ รูปฯ ๖๑๓.